X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูก กระดูกเปราะ เพราะ ผงชูรส จริงหรือ? คำอธิบายจากหมอ

บทความ 5 นาที
ลูก กระดูกเปราะ เพราะ ผงชูรส จริงหรือ? คำอธิบายจากหมอ

การที่แม่ท้องชอบทานอาหารที่มีผงชูรสเป็นประจำ จะทำให้ลูกเป็นโรคกระดูกเปราะจริงหรือไม่ มาฟังข้อเท็จจริงจากคุณหมอกันค่ะ

น้องหินเป็นโรคกระดูกผิดรูปแต่กำเนิด

จากกรณีที่มีข่าวในเว็บไซต์ mthai.com รายงานว่า น้องหิน อายุ 5 ขวบ ป่วยเป็น “โรค กระดูกเปราะ” หรือ “โรค กระดูกพรุน” ตั้งแต่กำเนิด โดยตอนที่น้องหินยังเป็นเด็กทารกนั้น ไม่มีใครสามารถจับตัวน้องได้เลย อุ้มให้นมก็ไม่ได้ จับอาบน้ำก็ไม่ได้ เพราะจับทีไร น้อง กระดูกหัก ทุกที แม้แต่นอนพลิกตัว ยังไม่ได้ ต้องทนทรมาน กับ อาการกระดูกหักตลอดเวลา และ เมื่อกระดูกหักก็ต้องเข้าเฝือกครึ่งตัว ทุกครั้งไป กระดูกเปราะ ผงชูรส

ลูกกระดูกเปราะเพราะผงชูรสจริงหรือ? คำอธิบายจากหมอ

ลูกกระดูกเปราะเพราะผงชูรสจริงหรือ? คำอธิบายจากหมอ

คุณแม่ ของ น้องหิน เล่าว่า คุณหมอ บอกว่า โรคนี้ เกิดจาก ร่างกาย ขาดแคลเซียม อย่างหนัก ซึ่งมีผลพวง มาจากกรรมพันธุ์ แต่ คุณแม่คิดว่าไม่น่าจะเป็นไปได้ เพราะ ครอบครัวทั้งสองฝั่งไม่เคยมีใครเป็นโรคนี้มาก่อน

ลูกกระดูกเปราะเพราะผงชูรส จริงหรือ? คำอธิบายจากหมอ

ลูกกระดูกเปราะเพราะผงชูรส จริงหรือ? คำอธิบายจากหมอ

เธอคิดว่า น่าจะเป็นเพราะ เธอชอบทานอาหาร และ ขนมที่มีส่วนผสม ของ ผงชูรส มากมาตลอด ไม่เว้น แม้แต่ในช่วงตั้งครรภ์ ซึ่งคุณหมอที่ดูแลครรภ์ก็เตือนอยู่เสมอว่าให้หยุดทานอาหารจำพวกนี้ เพราะ อาจมีผลต่อลูกในครรภ์ได้ แต่ ด้วยในขณะนั้น คุณแม่ น้องหิน ยังเป็นเป็นวัยรุ่นจึงไม่ได้ให้ความสำคัญกับเรื่องนี้ จนเมื่อน้องหินคลอดออกมา และ มีอาการดังกล่าว จึงเชื่อว่า “ลูก ต้องมา รับกรรม เพราะ การกระทำของตนเอง”

สำหรับสาเหตุของ โรค กระดูกเปราะ หรือ กระดูกผิดรูปแต่กำเนิดนั้นเกิดจากอะไร เกี่ยวกับ ผงชูรส หรือไม่ และ แม่ท้องควรดูแลตัวเองอย่างไร นายแพทย์ เมธาพันธ์ กิจพรธีรานันท์ สูตินรีแพทย์ ได้อธิบายไว้ในหน้าถัดไปค่ะ >>

โรคกระดูกเปราะ

นายแพทย์ เมธาพันธ์ กิจพรธีรานันท์ สูตินรีแพทย์ ได้อธิบายสาเหตุของ โรค กระดูกเปราะ หรือ กระดูกผิดรูป ไว้ดังนี้

สาเหตุของอาการ กระดูกเปราะ

โรคกระดูกผิดรูปแต่กำเนิด เป็นความผิดปกติที่มี กระดูกเปราะ และ หักได้ง่าย มีความหลากหลาย  ในการแสดงออกของโรคมาก บางชนิดรุนแรงจนทำให้ทารกเสียชีวิตในครรภ์ บางชนิดทำให้ กระดูกผิดรูป มีความพิการเกิดขึ้น บางชนิดจะแสดงอาการเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ โรคนี้เกิดจาก ความผิดปกติของพันธุกรรม เช่น พบมีการกลายพันธุ์ของยีนที่สร้างสารคอลลาเจน ชนิดที่ 1 หรือ โปรตีนที่เกี่ยวข้องกับ  การสร้างกระดูก และ กระดูกอ่อนเป็นต้น ไม่ได้เกิดจาก การรับประทานแคลเซียมน้อย หรือ รับประทาน ผงชูรส ที่มากเกินไป หรือได้รับสารอาหารชนิดต่างๆ ที่ไม่เพียงพอ โรคนี้สามารถถ่ายทอดทาง พันธุกรรมภายในครอบครัวได้ หรืออาจเกิดขึ้นใหม่เป็นคนแรกในครอบครัวก็ได้

ลักษณะที่จำเพาะ คือ มี กระดูกแขน ขา ผิดรูป ตั้งแต่กำเนิดจากมี กระดูกหัก ตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์ กระดูกเปราะ เมื่อมีการกล้ามเนื้อหดรัดตัวอาจทำให้ กระดูกหัก เองได้ง่าย เด็กตัวเตี้ย อาจพบกระดูกซี่โครงหัก กะโหลกศีรษะนุ่ม หูหนวก ข้อหลวม กระดูกสันหลังโค้งงอได้ โรคนี้จะเป็นตลอดชีวิต ยังไม่มีการรักษาที่หายขาด แต่การรักษามุ่งเน้นป้องกันกระดูกหัก เพิ่มการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย คอยรักษาสุขภาพให้แข็งแรง  ให้ออกกำลังกาย ทำกายภาพบำบัด อาจใช้ยาเพื่อเพิ่มมวลกระดูก และติดตามการรักษาต่อไป

ลูกกระดูกเปราะ เพราะผงชูรส จริงหรือ? คำอธิบายจากหมอ

ลูกกระดูกเปราะ เพราะผงชูรส จริงหรือ? คำอธิบายจากหมอ

คำแนะนำสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

สำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์ ควรรับประทานอาหาร ที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วน ฝากครรภ์ตามนัด โดยทั่วไปจะมีการตรวจคัดกรองทารกในครรภ์ ด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงเพื่อค้นหาความผิดปกติต่างๆในช่วงอายุครรภ์ 18-20 สัปดาห์ สำหรับ โรคกระดูกผิดรูป บางชนิด จะแสดงความผิดปกติช้า จึงจำเป็นต้องตรวจคัดกรองซ้ำอีกครั้งหนึ่งช่วงอายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์ ในรายที่น่าสงสัยอาจส่งตรวจเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่อไป

ลูกกระดูกเปราะเพราะผงชูรสจริงหรือ?คำอธิบายจากหมอ

ลูกกระดูกเปราะเพราะผงชูรสจริงหรือ?คำอธิบายจากหมอ

บทความจากพันธมิตร
วิธีเล่นกับลูกน้อย แรกเกิด – 1 ปี เสริมสร้างพัฒนาการแบบปลอดภัย ไร้อุบัติเหตุ
วิธีเล่นกับลูกน้อย แรกเกิด – 1 ปี เสริมสร้างพัฒนาการแบบปลอดภัย ไร้อุบัติเหตุ
ชวนคุณแม่ ฝึกลูกน้อยเคลื่อนไหว เสริมพัฒนาการร่างกาย ในวัยขวบปีแรก
ชวนคุณแม่ ฝึกลูกน้อยเคลื่อนไหว เสริมพัฒนาการร่างกาย ในวัยขวบปีแรก
วิธีเลือก ผ้าอ้อมสำเร็จรูป ให้ปลอดภัย ลูกใส่สบาย ไม่งอแง คุณแม่เบาใจ
วิธีเลือก ผ้าอ้อมสำเร็จรูป ให้ปลอดภัย ลูกใส่สบาย ไม่งอแง คุณแม่เบาใจ
เคล็ดลับแม่ต้องรู้!! เลือก ผ้าอ้อมสำเร็จรูปแบบกางเกง อย่างไร ให้ดีต่อพัฒนาการของลูกรัก?  และควรให้ลูกน้อยเปลี่ยนมาใช้ผ้าอ้อมสำเร็จรูปแบบกางเกงตอนไหนดี?
เคล็ดลับแม่ต้องรู้!! เลือก ผ้าอ้อมสำเร็จรูปแบบกางเกง อย่างไร ให้ดีต่อพัฒนาการของลูกรัก? และควรให้ลูกน้อยเปลี่ยนมาใช้ผ้าอ้อมสำเร็จรูปแบบกางเกงตอนไหนดี?

ถึงแม้ว่าการบริโภค ผงชูรส จะไม่ได้เจาะจงว่า ทารกที่เกิดมาจะมีปัญหาเกี่ยวกับ กระดูกเปราะ หรือโรคกระดูกผิดรูปแต่กำเนิด ในคุณแม่ท้องหากหลีกเลี่ยงได้ก็ไม่ควรบริโภคผงชูรส เพื่อป้องกันปัญหาด้านสุขภาพที่สามารถเกิดขึ้นได้กับตัวคุณแม่เองและทารกในครรภ์ได้ค่ะ

5 วิธีป้องกันไม่ให้ทารกผิดปกติแต่กำเนิด

อาหาร 7 อย่างที่แม่ท้องไม่ควรกินตอนท้องว่าง

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิริลักษณ์ อุทยารัตน์

  • หน้าแรก
  • /
  • ทารก
  • /
  • ลูก กระดูกเปราะ เพราะ ผงชูรส จริงหรือ? คำอธิบายจากหมอ
แชร์ :
  • โรค AMC แขนขาผิดรูปแต่กำเนิด ไม่มีลูกสะบ้า ต้องใส่อุปกรณ์ช่วยดัด

    โรค AMC แขนขาผิดรูปแต่กำเนิด ไม่มีลูกสะบ้า ต้องใส่อุปกรณ์ช่วยดัด

  • ผงชูรสอันตรายต่อเด็ก จริงไหม? ทำให้เด็กสมาธิสั้นจริงเหรอ?

    ผงชูรสอันตรายต่อเด็ก จริงไหม? ทำให้เด็กสมาธิสั้นจริงเหรอ?

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • โรค AMC แขนขาผิดรูปแต่กำเนิด ไม่มีลูกสะบ้า ต้องใส่อุปกรณ์ช่วยดัด

    โรค AMC แขนขาผิดรูปแต่กำเนิด ไม่มีลูกสะบ้า ต้องใส่อุปกรณ์ช่วยดัด

  • ผงชูรสอันตรายต่อเด็ก จริงไหม? ทำให้เด็กสมาธิสั้นจริงเหรอ?

    ผงชูรสอันตรายต่อเด็ก จริงไหม? ทำให้เด็กสมาธิสั้นจริงเหรอ?

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ