X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

รักลูกอย่านิ่งนอนใจ ระวังอันตรายใกล้ตัวคร่าชีวิตลูก

บทความ 3 นาที
รักลูกอย่านิ่งนอนใจ ระวังอันตรายใกล้ตัวคร่าชีวิตลูกรักลูกอย่านิ่งนอนใจ ระวังอันตรายใกล้ตัวคร่าชีวิตลูก

ด้วยความที่เด็กนั้นกำลังอยู่ในช่วงวัยแห่งการเจริญเติบโต และมีความอยากรู้อยากเห็น ชอบวิ่งเล่นซุกซนจนอาจเกิดอันตรายได้ และอันตรายใกล้ตัวลูกอีกอย่างก็คืออันตรายจากการถูกไฟช็อตหรือไฟดูด ซึ่งความรุนแรงของมันนั้น อาจรุนแรงถึงขั้นพิการหรือทำให้ลูกน้อยเสียชีวิตได้เลยทีเดียว

ระวังอันตรายใกล้ตัวคร่าชีวิตลูก

โดยทั่วไป แล้วเด็กที่มีความเสี่ยงต่อการโดนไฟดูดมากที่สุด คือเด็กที่อยู่ในช่วงอายุต่ำกว่า 5 ขวบ เด็กเล็กตั้งแต่วัยคลานขึ้นไปนั้น มักชอบที่จะใช้นิ้วเขี่ยอะไรไปทั่ว ชอบหยิบของที่ตกอยู่ตามพื้นและบางครั้งก็มักจะเอาพวกกิ๊บติดผม หรือของต่างๆที่เค้าคว้าได้ แหย่เข้าไปในรูปลั๊กไฟตามผนัง ตามปลั๊กสามตา หรือปลั๊กต่อพ่วงที่เสียบไฟไว้ บางครั้งก็คว้าสายไฟไปกัดด้วยความมันเขี้ยว จนอาจเกิดอันตรายร้ายแรงกับลูกได้ ดังนั้นเราจึงควรหาวิธีป้องกัน ระวังอันตรายใกล้ตัวคร่าชีวิตลูก ไว้ก่อนจะดีกว่าครับ

#1 ใส่ตัวครอบปลั๊ก

หาซื้อตัวครอบปลั๊กไฟมาปิดรูปลั๊กที่ไม่ได้ใช้ ซึ่งตัวครอบปลั๊กนั้นหาซื้อได้ง่ายมากตามแผนกเครื่องใช้ไฟฟ้าในห้าง หรือตามร้านจำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป

ระวังอันตรายใกล้ตัวคร่าชีวิตลูก

#2 ความสูงของปลั๊กไฟ

ควรติดตั้งปลั๊กไฟให้อยู่สูงจากพื้นประมาณ 1.5 เมตร

#3 เก็บและม้วนสายไฟทุกครั้ง

เก็บและม้วนสายไฟของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดหลังใช้งานเสร็จเพื่อป้องกันไม่ให้ลูกกัดสายไฟ

#4 ไม่ควรปล่อยให้สายไฟจากเครื่องใช้ไฟฟ้าห้อยหรือเสียบพาดอยู่ตามพื้น

เพราะเด็กเล็กอาจกระชากสายไฟเล่นจนทำให้เกิดไฟช็อต และอาจทำให้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างเช่นกระติกน้ำร้อนร่วงตกลงมาใส่หัวเด็กจนเป็นอันตรายได้

#5 หมั่นตรวจสอบสายไฟ

อย่าปล่อยให้สายไฟเปื่อยหรือชำรุด หากเจอต้องเปลี่ยนทันที ไม่ควรนิ่งนอนใจ

#6 ระวังปลั๊กสามตา หรือปลั๊กต่อพ่วง

หากมีการใช้ปลั๊กสามตา หรือปลั๊กต่อพ่วง ควรไว้ในที่สูง และไม่ควรเสียบไฟมากจนเกินกำลังไฟ เพราะบางครั้งการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าพร้อมกันหลายๆตัว ก็เสี่ยงที่จะทำให้เกิดไฟช็อตหรือไฟรั่วได้

ระวังอันตรายใกล้ตัวคร่าชีวิตลูก

#7 ระวังเสียบปลั๊กไม่แน่น

การเสียบปลั๊กไม่แน่น ไม่มิด มีเหล็กเสียบเลื่อนออกมาก็เป็นอีกสิ่งที่ต้องคอยระวัง เพราะนอกจากจะเสี่ยงที่จะทำให้เกิดประกายไฟที่หัวปลั๊กแล้ว ยังเสี่ยงต่อการที่เจ้าตัวเล็กจะไปจับเล่นจนโดนไฟดูดอีกด้วย

#8 ติดตั้งเครื่องตัดไฟอัตโนมัติ

คุณพ่อคุณแม่ควรหาซื้อและติดตั้งเครื่องตัดไฟอัตโนมัติ เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้

#9 ตรวจดูต้นไม่ที่ปลูกไว้รอบบ้าน

ตรวจดูต้นไม่ที่ปลูกไว้รอบบ้าน ไม่ให้ไปเกี่ยวกับสายไฟ และหากพบเห็นก็ไม่ควรหักกิ่งตัดต้นเองนะครับ ควรโทรแจ้งเจ้าหน้าที่การไฟฟ้าจะดีที่สุด

คุณพ่อคุณแม่อย่าลืมสำรวจตรวจตราดูนะครับว่า เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านมีอะไรชำรุด หรือวางเกะกะตามพื้นบ้างหรือไม่ เพื่อความปลอดภัยของลูกน้อยและคนในครอบครัวครับ


บทความอื่นๆที่น่าสนใจ

เช็คด่วน! รูเล็กๆข้างหูของลูก สัญญาณร้ายที่ไม่ควรมองข้าม

เล่นอย่างไร ให้ลูกหัวไว ในช่วงขวบปีแรก

parenttown

บทความจากพันธมิตร
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10
อัปเดต แอปพลิเคชันดูแลสุขภาพ  ALive Powered by AIA ใคร ๆ ก็มีไว้ในสมาร์ตโฟน
อัปเดต แอปพลิเคชันดูแลสุขภาพ ALive Powered by AIA ใคร ๆ ก็มีไว้ในสมาร์ตโฟน
5 เคล็ดลับการเลือก รถยนต์อเนกประสงค์สำหรับครอบครัว ปลอดภัย พร้อมไปทุกที่ได้อย่างมั่นใจ
5 เคล็ดลับการเลือก รถยนต์อเนกประสงค์สำหรับครอบครัว ปลอดภัย พร้อมไปทุกที่ได้อย่างมั่นใจ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

P.Veerasedtakul

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • รักลูกอย่านิ่งนอนใจ ระวังอันตรายใกล้ตัวคร่าชีวิตลูก
แชร์ :
  • 8 ของอันตรายใกล้ตัวลูกน้อยที่คุณอาจคาดไม่ถึง

    8 ของอันตรายใกล้ตัวลูกน้อยที่คุณอาจคาดไม่ถึง

  • น้ำตาลในนมเเม่ ป้องกันลูกน้อยเสียชีวิตจากการติดเชื้อ

    น้ำตาลในนมเเม่ ป้องกันลูกน้อยเสียชีวิตจากการติดเชื้อ

  • ชื่อลูก ก - ฮ อัปเดตล่าสุด 2565 ชื่อน่ารัก ๆ เรียงตัวอักษร ก-ฮ

    ชื่อลูก ก - ฮ อัปเดตล่าสุด 2565 ชื่อน่ารัก ๆ เรียงตัวอักษร ก-ฮ

  • 12 เรื่องทำผัวหมดอารมณ์ เพราะเมียเป็นแบบนี้! ก่อนทำต้องคิดถึงหน้าผัว

    12 เรื่องทำผัวหมดอารมณ์ เพราะเมียเป็นแบบนี้! ก่อนทำต้องคิดถึงหน้าผัว

app info
get app banner
  • 8 ของอันตรายใกล้ตัวลูกน้อยที่คุณอาจคาดไม่ถึง

    8 ของอันตรายใกล้ตัวลูกน้อยที่คุณอาจคาดไม่ถึง

  • น้ำตาลในนมเเม่ ป้องกันลูกน้อยเสียชีวิตจากการติดเชื้อ

    น้ำตาลในนมเเม่ ป้องกันลูกน้อยเสียชีวิตจากการติดเชื้อ

  • ชื่อลูก ก - ฮ อัปเดตล่าสุด 2565 ชื่อน่ารัก ๆ เรียงตัวอักษร ก-ฮ

    ชื่อลูก ก - ฮ อัปเดตล่าสุด 2565 ชื่อน่ารัก ๆ เรียงตัวอักษร ก-ฮ

  • 12 เรื่องทำผัวหมดอารมณ์ เพราะเมียเป็นแบบนี้! ก่อนทำต้องคิดถึงหน้าผัว

    12 เรื่องทำผัวหมดอารมณ์ เพราะเมียเป็นแบบนี้! ก่อนทำต้องคิดถึงหน้าผัว

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ