X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

กิจกรรมส่งเสริมความฉลาดทางสังคม สำหรับลูกวัย 1-2 ขวบ

บทความ 3 นาที
กิจกรรมส่งเสริมความฉลาดทางสังคม สำหรับลูกวัย 1-2 ขวบ

ไม่มีคำว่าเร็วเกินไป สำหรับคุณพ่อคุณแม่ยุคใหม่ และเข้าถึงข้อมูลความรู้ ที่จะเตรียมความพร้อมให้ลูกน้อยในเรื่อง ‘ความฉลาดทางสังคม’ (Social Quotient) ตั้งแต่ขวบปีแรก เพราะเด็กที่มีทักษะทางอารมณ์และสังคมที่มั่งคง จะเป็นคนที่รู้จักควบคุมตัวเอง รู้จักผูกมิตร ทำให้มีความสุขและเป็นที่รักของผู้อื่น จึงทำให้ประสบความสำเร็จในชีวิตได้ไม่ยาก

หัวใจของ Social Quotient ที่ควรส่งเสริมให้กับลูก

1.รู้จักกติกาทางสังคม

คุณพ่อคุณแม่ต้องเริ่มต้นที่ทัศนคติของตัวเองก่อน แล้วจึงช่วยปลูกฝังความคิดและพฤติกรรมของลูก โดยยึดกติกาทางสังคมเป็นหลัก ไม่ใช้ความคิดเห็นส่วนตัว และการให้เหตุผลเข้าข้างตัวเองในการปลูกฝังความคิดและพฤติกรรมให้กับลูก

 

2.รู้จักการวิเคราะห์

การปลูกฝังการคิดวิเคราะห์ โดยลูกน้อยสามารถคิดเชื่อมโยงและนำความฉลาดที่มีมาทำงานร่วมกับคนอื่น สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า หรือแม้กระทั่งวางแผนในชีวิตของตัวเอง

 

3.รู้จักวิธีสื่อสารที่เหมาะสม

ปลูกฝังให้ลูกเปิดใจและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น จากนั้นนำมาคิดวิเคราะห์ก่อนจึงจะแสดงความคิดเห็นกลับไป ซึ่งวิธีการสื่อสารที่เหมาะสม จะช่วยให้ลูกน้อยสามารถบริหารความสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ดีเมื่อเขาโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่

 

ด้วยหัวใจในการส่งเสริม SQ ให้กับลูก 3 ทั้งข้อนี้คือเป้าหมายหลัก ที่คุณพ่อคุณแม่เริ่มฝึกให้ลูกน้อยได้ตั้งแต่ขวบปีแรก เพื่อเตรียมความพร้อมอย่างเต็มที่ตั้งแต่อยู่ที่บ้าน ก่อนที่เขาต้องเผชิญกับสังคมใหม่สังคมแรกในชีวิต ที่โรงเรียนอนุบาล

 

กิจกรรมส่งเสริมความฉลาดทางสังคม ของลูกน้อยวัย 1-2 ขวบ มีอะไรบ้าง

1.สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีด้วยโภชนาการที่เหมาะสม ช่วยให้เด็กแข็งแรง พร้อมเรียนรู้สิ่งใหม่เสมอ ไม่ป่วยง่ายกลายเป็นเด็กขี้โรค จนเป็นที่รังเกียจของสังคม

 

2. คุณพ่อคุณแม่และทุกคนในครอบครัวช่วยกันสร้างบรรยากาศแห่งความสุขให้กับลูกน้อย

 

3.ฝึกวินัยง่ายๆ ในชีวิต เช่น การทำกิจวัตรประจำวันให้เป็นเวลา ทั้งการป้อนนม การเล่นของเล่น การพาออกไปเดินเล่นข้างนอก หรือการเข้านอน หมั่นทำเป็นประจำทุกวันแล้วเขาจะเรียนรู้ได้เอง

 

4.ฝึกให้ลูกรู้จักการรอคอย ไม่หงุดหงิดง่ายเพราะไม่ได้ของที่ต้องการในทันที โดยการหาของเล่นที่ลูกชอบมาดึงดูดความสนใจ เมื่อลูกมองหาพยายามไขว่คว้าของเล่นชิ้นนั้น คุณแม่ก็พยายามเลื่อนของเล่นชิ้นนั้นไปมา พร้อมกับส่งเสริมชักชวนให้เข้ามาคว้าอย่างสนุกสนาน สักพักจึงให้ลูกได้ของที่ต้องการ

 

5.หาโอกาสพาลูกน้อยไปเล่นกับเพื่อนวัยเดียวกันบ้าง สอนให้มีน้ำใจแบ่งปันของเล่นให้เพื่อนด้วย บางครั้งอาจจะกระทบกระทั่งกันบ้างเป็นเรื่องธรรมดา คุณพ่อคุณแม่อย่าเอามาคิดให้เป็นอารมณ์ คอยดูแลใกล้ชิด และพูดสอนอย่างอ่อนโยน

 

กิจกรรมส่งเสริมความฉลาดสำหรับลูกวัย 1-2 ขวบ

เพราะเด็กในวัย นี้เป็นช่วงวัยที่มีพัฒนาการสำคัญทั้งทางร่างกาย สมอง และสังคม ดังนั้น การมีร่างกายที่แข็งแรง อันได้แก่ การมีระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินหายใจ และระบบภูมิคุ้มกันที่ดี จึงเป็นสิ่งที่สำคัญยิ่งต่อการเปิดประสบการณ์ เปิดโลกให้เกิดการเรียนรู้อย่างไร้ขีดจำกัดสำหรับเด็กค่ะ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • กิจกรรมส่งเสริมความฉลาดทางสังคม สำหรับลูกวัย 1-2 ขวบ
แชร์ :
  • ชีวิตที่มีลูก เข้าแล้วออกไม่ได้ : บริหารเวลายังไง ให้ชีวิตแม่มีความสุข

    ชีวิตที่มีลูก เข้าแล้วออกไม่ได้ : บริหารเวลายังไง ให้ชีวิตแม่มีความสุข

  • อาถรรพ์ 7 ปี ทำไมคู่รักมักเลิกกัน: อาถรรพ์ ความเชื่อ หรือแค่การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา

    อาถรรพ์ 7 ปี ทำไมคู่รักมักเลิกกัน: อาถรรพ์ ความเชื่อ หรือแค่การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา

  • MBTI กับการเลี้ยงลูก: เมื่อบุคลิกภาพกำหนดสไตล์การเลี้ยงดู

    MBTI กับการเลี้ยงลูก: เมื่อบุคลิกภาพกำหนดสไตล์การเลี้ยงดู

  • ชีวิตที่มีลูก เข้าแล้วออกไม่ได้ : บริหารเวลายังไง ให้ชีวิตแม่มีความสุข

    ชีวิตที่มีลูก เข้าแล้วออกไม่ได้ : บริหารเวลายังไง ให้ชีวิตแม่มีความสุข

  • อาถรรพ์ 7 ปี ทำไมคู่รักมักเลิกกัน: อาถรรพ์ ความเชื่อ หรือแค่การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา

    อาถรรพ์ 7 ปี ทำไมคู่รักมักเลิกกัน: อาถรรพ์ ความเชื่อ หรือแค่การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา

  • MBTI กับการเลี้ยงลูก: เมื่อบุคลิกภาพกำหนดสไตล์การเลี้ยงดู

    MBTI กับการเลี้ยงลูก: เมื่อบุคลิกภาพกำหนดสไตล์การเลี้ยงดู

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว