X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

7 เรื่องที่เด็กควรรู้เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

12 Mar, 2015

อย่าประเมินความสามารถในการเรียนรู้ของลูกคุณต่ำเกินไปนัก อันที่จริงแล้ว คุณสามารถสอนลูกว่าจะจัดการกับเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ ได้อย่างไรนับตั้งแต่นาทีแรกที่ลูกเดินได้เลยล่ะ เรามี 7 วิธีเล็ก ๆ ที่สามารถสร้างความแตกต่างที่ยิ่งใหญ่เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินมาฝากกัน!

1. ไม่มีคำว่าเร็วเกินไป

1. ไม่มีคำว่าเร็วเกินไป

อย่าประเมินความสามารถในการเรียนรู้ของลูกคุณต่ำเกินไปนัก ลูกของคุณสามารถเรียนรู้เรื่องความปลอดภัยและจัดการกับเหตุฉุกเฉินได้นับตั้งแต่นาทีแรกที่ลูกเดินได้เลยล่ะ เราเคยเห็นเด็กทารกอายุเพียง 17 เดือนที่เรียนรู้เรื่องการอ่านได้มาแล้ว
2. ร้องขอความช่วยเหลือ

2. ร้องขอความช่วยเหลือ

หมายเลขโทรฉุกเฉิน เช่น 191 สร้างขึ้นมาเพื่อให้โทรได้ง่าย ดังนั้นเด็กจึงเข้าใจได้ง่ายมาก เพื่อให้แน่ใจว่าลูกจะไม่เอาหมายเลขฉุกเฉินเหล่านี้ไปโทรเล่น คุณต้องสอนให้ลูกรู้ถึงเรื่องนี้ด้วยความจริงจังเพื่อให้ลูกเข้าใจว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องวินัยไม่ใช่เรื่องเล่นสนุก

นอกจากนี้ โทรศัพท์ไม่ได้เป็นเพียงหนทางเดียวสำหรับการเรียกร้องความช่วยเหลือ ลูกของคุณสามารถร้องตะโกนเพื่อเรียกร้องความสนใจจากเพื่อนบ้านหรือคนที่ผ่านไปมาได้อีกด้วย
3. เรียนรู้วิธีการกู้ชีพแบบต่าง ๆ

3. เรียนรู้วิธีการกู้ชีพแบบต่าง ๆ

หากคุณอยากสอนให้ลูกรู้จักเรื่องเทคนิคการช่วยชีวิตแบบต่าง ๆ ขั้นตอนแรกของคุณคือการสอนให้ลูกรู้ว่าการหมุนเวียนโลหิตและการหายใจสำคัญต่อการทำงานของร่างกายอย่างไร การรู้ว่าหัวใจทำงานอย่างไรจะช่วยให้ลูกเข้าใจว่าจะจัดการปฏิบัติการกู้ชีพ (ปั๊มหัวใจ) และการสำลักได้อย่างไร
4. สังเกตเหตุฉุกเฉิน

4. สังเกตเหตุฉุกเฉิน

พูดคุยเรื่องสถานการณ์ฉุกเฉินที่เป็นไปได้กับลูกของคุณ แล้วซักซ้อมว่าต้องทำอะไรบ้างในกรณีที่เกิดขึ้นจริง ๆ การสอนให้ลูกรู้จักสังเกตสิ่งผิดปกตินับเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างมากหากคุณมีสมาชิกในครอบครัวที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังและเป็นโรคระยะยาวต่าง ๆ เช่น ภูมิแพ้ เบาหวาน และความดันโลหิตสูง
5. วางสิ่งจำเป็นไว้ในจุดที่เด็กเอื้อมถึง

5. วางสิ่งจำเป็นไว้ในจุดที่เด็กเอื้อมถึง

ขวดยาของคุณจะมีคำเตือนให้ทำในสิ่งตรงกันข้าม (คือให้เอาไว้ไกลมือเด็ก) แต่เราจะไม่เถียงในเรื่องคำเตือนนั้น เมื่อคุณรู้ว่าคุณต้องใช้ยาอะไรเมื่อลูกคุณป่วย คุณก็จำเป็นต้องให้ลูกได้รู้ด้วยว่ามียาอะไรที่สำคัญสำหรับคุณ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากคุณหรือคู่ของคุณกินหรือใช้ยาบางชนิดเป็นประจำ (เช่น ยาความดันโลหิต ยาพ่น Ventolin inhalers และอื่น ๆ )

บอกให้ลูกรับรู้เวลาที่คุณกินหรือใช้ยา ค่อย ๆ อธิบายว่ายาเหล่านั้นทำหน้าที่อะไร คอยย้ำให้ลูกเข้าใจว่ายาไม่ใช่ของเล่นหรือขนม ในเหตุฉุกเฉิน ลูกจะได้สามารถช่วยหยิบยาที่คุณต้องการได้
6. หลีกเลี่ยงเลือด

6. หลีกเลี่ยงเลือด

แผลที่เปิดออกสามารถนำไปสู่การติดเชื้อได้ และสิ่งสุดท้ายที่คุณต้องการคือการที่ลูกของเราเสี่ยงชีวิตตัวเองเพื่อช่วยอีกชีวิตหนึ่งโดยที่ไม่รู้ทัน คุณต้องแน่ใจว่าลูกรู้ว่าไม่ควรสัมผัสแผลที่เปิดหรือเลือดของใครในขณะที่รอรับความช่วยเหลือ แต่อย่างไรก็ตาม ในสถานการณ์เช่นนั้น เสียงของลูกอาจเป็นสิ่งที่ช่วยทำให้ผู้ประสบเหตุฉุกเฉินวางใจได้ดีที่สุด ดังนั้นให้ลูกอยู่ใกล้กับคนผู้นั้นและคอยพูดคุยด้วยจนกว่าความช่วยเหลือจะไปถึง
7. อย่าเคลื่อนไหวผู้ป่วย

7. อย่าเคลื่อนไหวผู้ป่วย

เมื่อต้องจัดการกับคนที่หมดสติ นับเป็นเรื่องสำคัญที่ลูกของคุณต้องรู้ว่าไม่ควรขยับคนผู้นั้นเพื่อหลีกเลี่ยงการทำให้เกิดความเสียหายเพิ่มเติมจากอาการบาดเจ็บเดิมที่ผู้ประสบเหตุฉุกเฉินผู้นั้นอาจมีอยู่แล้ว แต่อย่างไรก็ตาม คุณก็ควรให้ตัวอย่างสถานการณ์ที่เป็นอันตรายถึงชีวิตที่ลูกควรพยายามเคลื่อนไหวใครสักคนเพื่อช่วยชีวิตคนผู้นั้น
ถัดไป
img

บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • 7 เรื่องที่เด็กควรรู้เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
แชร์ :
  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

    เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

    เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว