X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

7 ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยเวลาฝึกลูกนั่งกระโถน

บทความ 3 นาที
7 ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยเวลาฝึกลูกนั่งกระโถน

คุณกำลังฝึกลูกของคุณนั่งกระโถนกันอยู่หรือเปล่าคะ ถ้าใช่ คุณเคยคิดหรือไม่ว่า สิ่งที่คุณทำนั้นอาจผิด!

คุณรู้และมั่นใจได้อย่างไรว่า ลูกของคุณพร้อมสำหรับการฝึกนั่งกระโถนแล้ว?? ถ้าคำตอบคือ ก็ฉันสังเกตจากผ้าอ้อมสำเร็จรูปน่ะสิ ตอนเช้าเริ่มแห้งและดูเหมือนว่าลูกจะไม่ปัสสาวะแล้ว หรืออีกคำตอบของคุณคือ ก็เพราะลูกของฉันโตแล้วน่ะสิ?? แต่คุณเคยทราบหรือไม่ สาเหตุหนึ่งที่ทำให้การฝึกนั้นไม่สำเร็จ อาจเป็นเพราะมีบางสิ่งบางอย่างผิดพลาดอยู่

ฝึกลูกนั่งกระโถน

คุณเคยคิดไหมว่า การที่เราฝึกลูกไวหรือเร็วเกินไป อาจจะยิ่งไปสร้างแรงกดดันให้ลูกไม่อยากฝึกการนั่งกระโถนก็เป็นได้ และนี่คือข้อผิดพลาด ที่เราสามารถพบได้บ่อย ๆ

1. ฝึกเร็วเกินไป บางทีเด็กที่มีอายุน้อยมาก ๆ ก็ไม่ใช่วัยที่เหมาะสมสำหรับการฝึก พวกเขายังไม่รู้เสียวิธีการควบคุมหรือสื่อสารที่ดีเสียด้วยซ้ำไป ดังนั้น ใจเย็น ๆ ค่ะ รอเวลาให้ลูกโตขึ้นอีกสักนิดแล้วค่อยฝึกก็ไม่สาย

2. เร่งรัด การเร่งรัดถือเป็นการสร้างความกดดันอย่างหนึ่งให้กับลูก ทำให้ลูกรู้สึกเกิดความเครียด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาที่พวกเขา ไม่สามารถทำในสิ่งที่พ่อแม่ต้องการได้ ดังนั้น อย่าไปเร่งรัดให้ลูก ๆ ต้องฝึกนั่งกระโถนกันเลยนะคะ ปล่อยให้ลูกได้เป็นคนส่งสัญญาณความพร้อมบอกเราเองจะดีกว่า

3. การใช้คำพูด แน่นอนว่า เวลาที่เราฝึกลูก เราก็อยากที่จะให้ลูกประสบความสำเร็จโดยเร็วที่สุด และเวลาที่ลูกทำไม่ได้ ก็มักจะส่งผลให้อารมณ์ของคุณนั้นหงุดหงิด อาจจะมีบ้างที่เผลอใช้คำพูดรุนแรงกับลูก จนทำให้ลูก ๆ เกิดการฝังใจโดยที่ไม่คุณไม่รู้ตัวจนเกิดการต่อต้านการฝึกก็เป็นได้

4. ทำให้ลูกรู้สึกอาย การที่คุณทำให้ลูกรู้สึกอายในขณะที่กำลังฝึกลูกอยู่นั้น เป็นการทำร้ายความรู้สึกและความตั้งใจของลูกอย่างรุนแรง ลูก ๆ ไม่ได้มีเจตนาที่จะทำให้เกิดการเลอะเทอะแต่อย่างใด แต่พวกเขายังมือใหม่ และต้องการเวลาในการฝึกมากกว่านี้

5. บังคับ ข้อนี้สำคัญ ได้โปรดอย่าไปบังคับให้ลูกฝึกนั่งกระโถนในขณะที่พวกเขายังไม่พร้อมเลยค่ะ เพราะจะยิ่งที่ให้เกิดแต่ผลเสีย และลูก ๆ จะไม่เข้าใจเลยว่า ทำไมการฝึกถึงทำให้พ่อกับแม่ของเขานั้นต้องเข้มงวดถึงเพียงนี้

6. ความใส่ใจ ข้อนี้อยู่ที่ความใส่ใจของพ่อแม่ เนื่องจากการควบคุมระบบปัสสาวะของเด็กนั้น จะแตกต่างกับผู้ใหญ่ โดยเด็ก ๆ มักจะใช้เวลาในการเริ่มปวดปัสสาวะ ภายหลังจากที่พวกเขาได้ดื่มน้ำไปนาน 15 – 20 นาทีแล้ว หากคุณเริ่มกะเวลาถูก การฝึกลูกให้ปัสสาวะในกระโถน ก็ไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป

7. แนวการสอน ใคร ๆ ก็ชอบความสนุกสนานจริงไหมคะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็ก ๆ ดังนั้น จะทำอย่างไรให้การฝึกนั่งกระโถนของลูกเป็นแนวสนุกสนาน มากกว่าการจริงจังเหมือนที่คุณกำลังทำอยู่ และถ้าหากคุณสามารถทำได้ ความสำเร็จในการฝึก ก็อาจอยู่เพียงแค่เอิ้อม

คุณพ่อคุณแม่อย่าลืมนะคะว่า เด็กแต่ละคนนั้นมีความแตกต่างกัน ไม่สำคัญว่าลูกของคนอื่นจะทำได้เร็วกว่า หรือลูกของเราจะทำได้ช้ากว่า อย่าเปรียบเทียบลูกของเรากับเด็กคนอื่นค่ะ ปล่อยให้ทุกอย่างเป็นไปตามธรรมชาติและยึดความพร้อมของลูก ๆ เป็นหลักน่าจะดีกว่า

ที่มา: Just Mommies

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ:

10 วิธีแก้ ทำอย่างไรเมื่อลูกไม่ยอมนั่งกระโถน

สอนลูกเข้าห้องน้ำสาธารณะอย่างปลอดภัย

TAP mobile app

บทความจากพันธมิตร
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Muninth

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • 7 ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยเวลาฝึกลูกนั่งกระโถน
แชร์ :
  • สอนให้ลูกนั่งกระโถน 7 ขั้นตอน ที่จะทำให้การ สอนลูกขับถ่าย เป็นเรื่องง่ายขึ้น

    สอนให้ลูกนั่งกระโถน 7 ขั้นตอน ที่จะทำให้การ สอนลูกขับถ่าย เป็นเรื่องง่ายขึ้น

  • “ผิวปาก” วิธีฝึกลูกนั่งกระโถน ด้วย การผิวปาก

    “ผิวปาก” วิธีฝึกลูกนั่งกระโถน ด้วย การผิวปาก

  • การกินยาคุม กับ ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน เรื่องสำคัญที่ควรต้องรู้

    การกินยาคุม กับ ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน เรื่องสำคัญที่ควรต้องรู้

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • สอนให้ลูกนั่งกระโถน 7 ขั้นตอน ที่จะทำให้การ สอนลูกขับถ่าย เป็นเรื่องง่ายขึ้น

    สอนให้ลูกนั่งกระโถน 7 ขั้นตอน ที่จะทำให้การ สอนลูกขับถ่าย เป็นเรื่องง่ายขึ้น

  • “ผิวปาก” วิธีฝึกลูกนั่งกระโถน ด้วย การผิวปาก

    “ผิวปาก” วิธีฝึกลูกนั่งกระโถน ด้วย การผิวปาก

  • การกินยาคุม กับ ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน เรื่องสำคัญที่ควรต้องรู้

    การกินยาคุม กับ ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน เรื่องสำคัญที่ควรต้องรู้

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ