X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

4 วิธีหยุดความเฮี้ยวของวัยแสบ

บทความ 3 นาที
4 วิธีหยุดความเฮี้ยวของวัยแสบ

เป็นปกติอยู่แล้วสำหรับเด็กที่เริ่มโตขึ้นมักจะมีความคิดเป็นของตัวเองมากขึ้น โดยที่หลายปัจจัยและสิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวกำหนดนิสัยของลูกด้วย คุณพ่อคุณแม่เคยสังเกตถึงพฤติกรรมของลูกที่ส่อแววกลายเป็นเด็กแสบ นิสัยเสียหรือไม่ นี่คือวิธีที่ช่วยหยุดพฤติกรรมสุดเฮี้ยวของลูก ก่อนที่จะสายเกินไป

คงจะไม่ดีแน่ ๆ ถ้าปล่อยให้ลูก ๆ ในวัยกำลังเริ่มโต แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวนิสัยไม่ดี เริ่มเอะอะโวยวายเอาแต่ใจในสิ่งที่ตัวเองอยากได้ หากพบว่าลูกเข้าข่ายมีพฤติกรรมสุดเฮี้ยว ถึงเวลาแล้วที่จะสต็อปและเปลี่ยนพฤติกรรมให้กับลูกรักของคุณ

5 วิธีหยุดพฤติกรรมสุดเฮี้ยวของวัยแสบ

#1 อย่ามองข้ามพฤติกรรมของลูก

ต้องหมั่นสังเกตพฤติกรรมของลูกที่แสดงออกต่อพ่อแม่เองและคนรอบข้าง หากเจ้าตัวเล็กแสดงพฤติกรรมดังกล่าวในที่สาธารณะและคนรอบข้างสังเกตเห็น คุณพ่อคุณแม่ควรรีบทำให้ลูกสงบลง และควรอธิบายให้ลูกเข้าใจว่า เมื่ออยู่ในที่สาธารณะมันเป็นสิ่งไม่ดีที่จะร้องหรือตะโกน

แต่หากคุณมองข้ามหรือไม่สนใจต่อพฤติกรรมแย่ ๆ ของลูก พวกเขาก็จะเข้าใจและเรียนรู้ว่าไม่จำเป็นที่จะต้องเชื่อฟังพ่อแม่ รวมไปถึงว่าไม่จำเป็นที่จะต้องเคารพหรือสนใจต่อบุคคลอื่น สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเขาด้วย

#2 อย่าปล่อยให้ลูกพูดถ้อยคำที่ไม่ให้ความเคารพต่อพ่อแม่

หากมีคำพูดที่ไม่เหมาะสมหลุดออกจากปากของลูก อย่างน้อยพ่อแม่ควรทำโทษและสอนลูกใช้คำพูดที่ให้ถูกต้องและเหมาะสมกับผู้ใหญ่ตั้งแต่ในวัยเด็ก

4 วิธีหยุดพฤติกรรมสุดเฮี้ยวของวัยแสบ

#3 อย่าปล่อยให้ลูกเข้าใจผิดว่าพฤติกรรมที่ไม่ดีเป็นวิธีการแสดงออกที่ถูกต้อง

สอนให้ลูกเรียนรู้วิธีที่จะจัดการอารมณ์ของตัวเองได้ อธิบายลูกให้รู้จักผิดถูกในการแสดงออก เช่น ในขณะที่ลูกกำลังโกรธหรือไม่พอใจลูกอาจร้องตะโกนหรือกัด ซึ่งเรื่องนี้มันเป็นภาระของพ่อแม่ที่จะต้องเป็นตัวอย่างให้แก่ลูก ๆ ในการสอนพฤติกรรมที่ถูกต้อง เพื่อที่ลูกจะได้เข้าสังคมได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

#4 สอนลูกให้รู้จักเคารพผู้อื่น

หนทางที่ดีในการป้องกันไม่ให้ลูก ๆ ของคุณเติบโตมาเป็นเด็กที่นิสัยเสียสุด ๆ นั่นคือการพูดคุยกับลูกด้วยความสุภาพและเคารพ แสดงให้ลูกเห็นถึงการพูดคุยกับผู้อื่นอย่างถูกต้องเหมาะสม

โดยส่วนใหญ่แล้วการที่เด็ก ๆ มีนิสัยก้าวร้าวรุนแรงนั้นเป็นเพราะพวกเขาอาจไม่ได้รับการอบรมสั่งสอนที่ดีมาตั้งแต่แรก ในฐานะของพ่อแม่การจะป้องกันพฤติกรรมของลูกไม่ให้เป็นเด็กแสบซ่าสุดเฮี้ยว ก็คือการสอนและการแสดงออกเป็นตัวอย่างที่ดีทั้งภายในครอบครัวและที่สาธารณะ รวมถึงสอนให้ลูกเข้าใจถึงหลักของการให้ความเคารพต่อผู้อื่นด้วย

บ้านไหนมีวิธีจัดการกับลูกสุดเฮี้ยวอย่างไร เรารออ่านความคิดเห็นจากคุณอยู่นะคะ

ที่มา : www.sg.theasianparent.com

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :
พัฒนาการเด็กวัย 4 ขวบถึง 4 ขวบครึ่ง และเทคนิคส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
4 กฎความปลอดภัย ใครมีลูกวัย 4 ขวบต้องอ่าน!

TAP-ios-for-article-footer-with button

บทความจากพันธมิตร
Unique Ideas To Make Your Kitchen Look Elegant, Stylish and Appealing
Unique Ideas To Make Your Kitchen Look Elegant, Stylish and Appealing
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
ชี้เป้า ประกันสุขภาพลูก ลดภาระทางการเงินเมื่อลูกเจ็บป่วย ช่วยให้ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด
ชี้เป้า ประกันสุขภาพลูก ลดภาระทางการเงินเมื่อลูกเจ็บป่วย ช่วยให้ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • 4 วิธีหยุดความเฮี้ยวของวัยแสบ
แชร์ :
  • เตรียมตัวอย่างไรดี? รวม 8 วิธี แก้อาการแพ้ท้อง สำหรับหญิงตั้งครรภ์

    เตรียมตัวอย่างไรดี? รวม 8 วิธี แก้อาการแพ้ท้อง สำหรับหญิงตั้งครรภ์

  • กล้วยบด สำหรับเด็กที่เริ่มทานอาหารเสริมได้แล้ว

    กล้วยบด สำหรับเด็กที่เริ่มทานอาหารเสริมได้แล้ว

  • เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

    เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

  • เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

    เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

  • เตรียมตัวอย่างไรดี? รวม 8 วิธี แก้อาการแพ้ท้อง สำหรับหญิงตั้งครรภ์

    เตรียมตัวอย่างไรดี? รวม 8 วิธี แก้อาการแพ้ท้อง สำหรับหญิงตั้งครรภ์

  • กล้วยบด สำหรับเด็กที่เริ่มทานอาหารเสริมได้แล้ว

    กล้วยบด สำหรับเด็กที่เริ่มทานอาหารเสริมได้แล้ว

  • เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

    เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

  • เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

    เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ