X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ความรู้เรื่องการมองของเด็กทารก

บทความ 3 นาที
ความรู้เรื่องการมองของเด็กทารกความรู้เรื่องการมองของเด็กทารก

ทารกเกิดมายังมองเห็นได้ไม่เหมือนคนปกตินะคะ เด็กยังต้องใช้เวลาปรับตัวกับโลกใบใหม่ของเขานอกครรภ์แม่ เรามาดูกันดีกว่าว่าทารกมองเห็นตอนไหนและอย่างไรกันบ้าง

ทารกมองเห็น

ทารกมองเห็น

7 ปัจจัยสร้างลูกน้อยสมองดีตั้งแต่ในครรภ์

1. อายุคุณแม่

คุณแม่ที่มีเจ้าตัวน้อยในวัย 30 มีแนวโน้มที่ลูกจะฉลาด ตามการวิจัยของ the London School of Economics ทั้งนี้การที่ลูกฉลาดอาจไม่ได้เป็นเพราะอายุของแม่ แต่พบว่าแม่ที่มีลูกคนแรกในวัยสามสิบนั้น มักจะมีการศึกษาที่สูงขึ้น มีรายได้มากขึ้น มีความสัมพันธ์ที่มั่นคงมากขึ้น มีไลฟ์สไตล์ที่ดีต่อสุขภาพมากขึ้น มีการวางแผนก่อนจะมีบุตร และมีการหาความรู้ในการดูแลครรภ์เป็นอย่างดี

บทความแนะนำ เชื่อหรือไม่!! คุณแม่ ท้องอายุ 30 ปี ส่งผลให้ “ลูกฉลาดแข็งแรง” ที่สุด

ปัจจัยสร้างลูกน้อยสมองดี-คุยกับลูกในท้อง

2. ความรักและการเอาใจใส่เจ้าตัวน้อย

คุณแม่ที่แสดงออกถึงความรักที่มีต่อเจ้าตัวน้อย เป็นปัจจัยสำคัญทำให้ลูกมีสุขภาพดี มีความสุข และรู้สึกผ่อนคลาย การสื่อความรักด้วยการพูดคุยกับลูกในท้องอย่างอ่อนโยนจะส่งผลดีต่อความจำ และอารมณ์ของเจ้าตัวน้อย นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างพื้นฐานด้านภาษาที่ดีอีกด้วย

บทความแนะนำ “คุยกับลูกในท้อง” วิธีที่พ่อมิค-แม่เบนซ์ส่งผ่านความรักถึงลูกสาวในท้อง (ชมคลิป)

3. น้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างเหมาะสม

การที่คุณแม่น้ำหนักเพิ่มมากเกินไประหว่างตั้งครรภ์ส่งผลให้ลูกตัวโต คลอดยาก ซึ่งอาจมีความเสี่ยงต่อสมองของเจ้าตัวน้อย แต่หากคุณแม่น้ำหนักเพิ่มน้อยเกินไปก็ส่งผลให้ทารกศีรษะและสมองเล็ก ทำให้ลูกมีระดับไอคิวต่ำ ทั้งนี้น้ำหนักที่เหมาะสมของคุณแม่ท้องควรเพิ่มขึ้น 10-12 กิโลกรัมตลอดการตั้งครรภ์

บทความแนะนำ คุมน้ำหนักตอนท้องอย่างไร ให้น้ำหนักตัวอยู่ในเกณฑ์พอดี

ปัจจัยสร้างลูกน้อยสมองดี-โอเมกา3

4. อาหารทะเล ปลา และโอเมกา-3

นักวิจัยพบว่าทารกที่เกิดจากคุณแม่ที่มีระดับกรดไขมันโอเมกา-3 หรือดีเอชเอในเลือดสูงกว่า จะมีความสามารถในการจดจ่อได้ยาวนานกว่า โดยพบว่าในเด็กอายุ 6 เดือนจะจดจ่อได้ดีกว่าเด็กที่คุณแม่มีระดับดีเอชเอต่ำกว่าถึงสองเดือน นอกจากนี้ยังพบว่า การที่คุณแม่รับประทานปลามากขึ้นระหว่างตั้งครรภ์สามารถเพิ่มไอคิวของลูกได้  และการรับประทานปลาในช่วงตั้งครรภ์ไตรมาสแรกดูเหมือนจะมีผลต่อคะแนนการทดสอบไอคิวของลูกมากกว่า เมื่อเที่ยบกับคุณแม่ที่รับประทานปลาในภายหลัง

องค์การอาหารและยาสหรัฐอเมริกา (FDA) แนะนำให้รับประทานอาหารทะเลไม่เกิน 340 กรัมต่อสัปดาห์ หรือประมาณ 2 มื้อต่อสัปดาห์ โดยให้รับประทานปลาที่หลากหลายและเลือกอาหารทะเลที่มีสารปรอทต่ำ เช่น กุ้งทะเล ปลาแซลมอน ปลาดุกทะเล ปลาทูน่า ปลาแมคเคอเรล ปลาซาร์ดีน และปลากะตัก

บทความแนะนำ สุดยอดอาหารบำรุงครรภ์ 10 อย่าง

5. เบคอนและไข่

ดร. เจอรัลด์ เวสแมน บรรณาธิการบริหาร the Federation of American Societies for Experimental Biology journal กล่าวว่า เบคอนและไข่ช่วยเพิ่มพลังสมองให้ลูกในครรภ์ เนื่องจากโคลีนซึ่งเป็นสารอาหารสำคัญในการพัฒนาสมองในส่วนของการจดจำข้อมูลใหม่และระลึกถึงความทรงจำที่เก็บไว้

บทความแนะนำ โคลีนพัฒนาสมองทารกตั้งแต่ในครรภ์

ปัจจัยสร้างลูกน้อยสมองดี-ออกกำลังกาย

6. การออกกำลังกาย

การออกกำลังกายระหว่างตั้งครรภ์มีประโยชน์ต่อการหายใจของเจ้าตัวน้อยในครรภ์ และการพัฒนาระบบประสาทอัตโนมัติ จากการศึกษาของ The American Physiological Society พบหลักฐานที่ชี้ให้เห็นว่า คุณแม่ที่ยังคงออกกำลังกายระหว่างตั้งครรภ์มีลูกที่ฉลาดกว่า นอกจากนี้การศึกษาของ the University of Montreal พบว่า หากคุณแม่ท้องออกกำลังกายเพียง 20 นาที 3 ครั้งต่อสัปดาห์ช่วยเพิ่มการทำงานของสมองทารกแรกเกิดได้ การเต้นแอโรบิคช่วยเพิ่มการทำงานของไมโทคอนเดรียในสมองของแม่ ซึ่งทำหน้าที่เป็นแหล่งพลังงานของเซลล์ โดยจะส่งผ่านไปทางรกและเป็นประโยชน์ต่อสมองของทารกในครรภ์เช่นเดียวกัน

บทความแนะนำ 7 วิธีออกกำลังกาย แม่ตั้งครรภ์ควรลอง

7. คลอดในสัปดาห์ที่ 41

ตามรายงานของวารสาร JAMA Pediatrics พบว่า ทารกที่คลอดเมื่ออายุครรภ์ 41 สัปดาห์ เมื่อเข้าสู่วัยเรียนจะมีคะแนนสอบที่สูงกว่า และมีเปอร์เซ็นต์ที่จัดอยู่ในกลุ่มปัญญาเลิศสูงกว่า ในขณะที่มีเปอร์เซ็นต์ในกลุ่มสติปัญญาต่ำน้อยกว่า อย่างไรก็ตาม หากเด็กอยู่ในครรภ์แม่นานถึง 42 สัปดาห์ถือว่าตั้งครรภ์เกินกำหนดคลอดอาจเป็นอันตรายต่อทั้งแม่และลูกได้

 

อยากให้ลูกมีพัฒนาการสมองดี แม่ต้องสร้างและบำรุงลูกด้วยโภชนาการที่ดีมาตั้งแต่ตอนที่ลูกอยู่ในท้อง และเมื่อลูกคลอดออกมาแล้วอาหารที่มีส่วนช่วยบำรุงสมองก็ยังมีความจำเป็นอย่างต่อเนื่อง และนอกจากอาหารก็ต้องกระตุ้นพัฒนาการสมองลูกด้วยกิจกรรมต่างๆ ที่เหมาะสมตามวัยลูกด้วย

https://www.facebook.com/theAsianparentTH/?ref=bookmarks

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

บทความจากพันธมิตร
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER

ลูกท้องผูก ทำไงดี

ทำอย่างไรเมื่อลูกร้องไห้ไม่หยุด

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

ณัฐพร จันทร์โชคพงษ์

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ความรู้เรื่องการมองของเด็กทารก
แชร์ :
  • เรื่องต้องระวังจากของกินหน้าโรงเรียน ตอนที่ 3

    เรื่องต้องระวังจากของกินหน้าโรงเรียน ตอนที่ 3

  • เรื่องต้องระวังจากของกินหน้าโรงเรียน ตอนที่ 1

    เรื่องต้องระวังจากของกินหน้าโรงเรียน ตอนที่ 1

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

  • ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

    ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

app info
get app banner
  • เรื่องต้องระวังจากของกินหน้าโรงเรียน ตอนที่ 3

    เรื่องต้องระวังจากของกินหน้าโรงเรียน ตอนที่ 3

  • เรื่องต้องระวังจากของกินหน้าโรงเรียน ตอนที่ 1

    เรื่องต้องระวังจากของกินหน้าโรงเรียน ตอนที่ 1

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

  • ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

    ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ