X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ของเล่นเด็ก 2 เดือน พ่อแม่เล่นอะไรกับลูกได้บ้าง

บทความ 3 นาที
ของเล่นเด็ก 2 เดือน พ่อแม่เล่นอะไรกับลูกได้บ้าง

ของเล่นเด็ก 2 เดือน พ่อแม่เล่นอะไรกับลูกได้บ้าง แม้ลูกจะยังเล็กมาก แต่ก็มีหลากหลายวิธีที่คุณพ่อคุณแม่สามารถเล่นกับลูกได้นะคะ

ของเล่นเด็ก 2 เดือน พ่อแม่เล่นอะไรกับลูกได้บ้าง

ของเล่นเด็ก 2 เดือน พ่อแม่เล่นอะไรกับลูกได้บ้าง ลูกในช่วงอายุนี้ คุณพ่อคุณแม่ก็สามารถเล่นกับลูกได้แล้ว หรือซื้อของเล่นที่เสริมพัฒนาการมาเล่นกับลูกได้เช่นกันค่ะ 

ลูก 2 เดือนแล้ว

  • ในวัยนี้หน้าที่หลักของลูกยังเป็นการนอนอยู่ค่ะ โดยลูกจะนอน 15-16 ชั่วโมงต่อวัน
  • ลูกจะสามารถยกหัวขึ้นได้บ้าง แต่ลูกยังคอไม่แข็งพอ ดังนั้นเวลาอุ้มจึงยังต้องประคองคอของลูกอยู่นะคะ
  • หากคุณแม่เอาของต่างๆ วางไว้ข้างหน้าลูก ลูกจะพยายามตีวัตถุที่อยู่ข้างหน้าค่ะ ไม่เว้นแม้แต่หน้าของคุณแม่ด้วย
  • ลูกสามารถมองเห็นได้ไกลประมาณ 18 นิ้ว นับจากระยะห่างจากตัวเขา
  • ลูกจะเริ่มเป็นเด็กช่างจ้อแล้วค่ะ แม้ว่าคุณพ่อคุณแม่จะฟังไม่ออกก็ตาม

แล้วตอนนี้คุณพ่อคุณแม่จะเล่นอะไรกับลูกได้บ้างแล้วนะ

1.จับคว่ำ

หากคุณพ่อคุณแม่จับลูกคว้ำทุกวัน ลูกจะได้ฝึกความแข็งแรงของคอ ไหล่ แขนและลำตัวค่ะ กล้ามเนื้อเหล่านี้จะช่วยให้เด็กๆ มีทักษะต่อพัฒนาการลำดับถัดไป ได้แก่ การพลิกคว้ำพลิกหงาย คลาน ตั้งไข่ และลุกขึ้นยืน

2.เม้ามอย

การคุยกับลูกน้อยจำเป็นอย่างมากนะคะ เพราะมันคือการสร้างรากฐานของทักษะด้านภาษาค่ะ แม้ลูกจะยังไม่รู้เรื่องว่าคุณแม่พูดอะไรก็ตามค่ะ

3.อ่านนิทาน

การสร้างคลังคำศัพท์ขนาดใหญ่ขึ้นมาไม่ใช่เรื่องง่าย แต่สิ่งที่ทำได้ง่ายๆ คือการอ่านนิทานให้ลูกฟังทุกวัน โดยใช้เสียงสูงต่ำ ดัดเสียงบ้าง เด็กๆ ชอบค่ะ และควรจะอ่านนิทานให้ลูกฟังท่ามกลางสิ่งแวดล้อมที่สงบเงียบ และยังไม่จำเป็นต้องอ่านทุกตัวอักษร คุณแม่อาจชี้รูปต่างๆ แล้วบอกลูกว่ามันคืออะไ

4.สัมผัสสื่อรัก

การสัมผัสลูกบ่อยๆ จะช่วยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคุณแม่และลูกค่ะ ช่วยพัฒนาจิตใจและร่างกายให้แข็งแรง ช่วยให้เด็กๆ นอนหลับดีขึ้น การนวดลูกเบาๆ จะเป็นการคลายเครียดและบรรเทาอาการปวดต่างๆ ให้ลูกได้ค่ะ นอกจากนี้ยังช่วยเพิ่มอุณหภูมิของร่างกายและทำให้การเต้นของหัวใจลูกทำงานดีขึ้นอีกด้วย

ของเล่นเด็ก 2 เดือน พ่อแม่เล่นอะไรกับลูกได้บ้าง

5.ปล่อยลูกลงพื้น

การปล่อยลูกให้นอนกลิ้งไปกลิ้งมาบนพื้น ที่ควรจะมีเบาะรองคลานหรือผ้าปูรองเอาไว้ ลูกจะมีโอกาสได้เคลื่อนไหวอย่างอิสระมากขึ้นกว่าการอุ้มตลอดเวลา เพราะการดิ้นไปดิ้นมา กลิ้งไปกลิ้งมา ก็ทำให้ลูกสนุกสุดๆ แล้วละค่ะ

6.เต้นไปมา

การเคลื่อนที่ลูกไปมา จับลูกทำเครื่องบิน แบบไม่ต้องแรง โยกไปทางซ้านขวาเบาๆ ยกลูกขึ้นลง หมุนตัวไปกับลูก แค่นี้มันก็เหมือนการสร้างสวนสนุกย่อมๆ ให้กับลูกแล้วละค่ะ

7.พื้นผิวที่หลากหลาย 

การปล่อยให้ลูกสัมผัสพื้นผิวที่แตกต่างกัน อุณหภูมิที่ต่างกัน เช่น เย็นหรืออุ่นมากขึ้น จะช่วยในเรื่องของการเรียนรู้ค่ะ คุณแม่อาจจะใช้ผ้าที่แตกต่างกัน เช่น ผ้าขนแกั ผ้าฝ้าย ผ้าไหม หรือผ้าอื่นๆ ค่ะ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ลูกจับวัสดุต่างๆ เช่น ฟองน้ำ ยางยืด ที่มีผิวสัมผัสนิ่ม แข็ง หยุ่นๆ หรือลื่นๆ ด้วยก็ได้ค่ะ

8.นิ้วเต้นระบำ 

แม้ลูกจะยังมองไม่ได้ไกล แต่ก็เห็นชัดกว่าตอนเดือนเดียวแล้วนะคะ ให้คุณแม่เคลี่อนที่นิ้วไปมาตามจังหวะเสียงเพลง ช้าบ้าง เร็วบ้าง เคลื่อนที่ไปข้างหน้า มาข้างหลัง ซ้ายและขวา เหมือนกับหุ่นมือย่อมๆ เลยนะคะ

ของเล่นเด็ก 2 เดือน พ่อแม่เล่นอะไรกับลูกได้บ้าง

9.มองดูสิ่งต่างๆ 

ให้คุณแม่ถือของต่างๆ ไม่จำกัดด้วยว่าสิ่งนั้นคืออะไร มันดึงความสนใจลูกได้เสมอค่ะ เพิ่มความสนุกด้วยการพากษ์เสียงต่างๆ หรือแม้แต่โมบายที่แขวนอยู่ ก็ทำให้ลูกสนใจได้ค่ะ

10.หาของให้ลูกเขย่า

ตอนนี้สิ่งที่ลูกจะทำบ่อยที่สุดคือการเขย่ามือและเท้านะคะ ดังนั้นของเล่นมีเสียงต่างๆ เมื่อเขย่าหรือขยำ ลูกจะสนุกมากค่ะ

จำไว้ว่าไม่ใช่เด็กทุกคนที่จะชอบเล่นเหมือนกัน คุณพ่อคุณแม่ต้องค่อยๆ ค้นหาไปเรื่อยๆนะคะ

ที่มา sensorylifestyle

บทความที่น่าสนใจ

ลูก 1 เดือนก็เล่นด้วยได้แล้วนะ วิธีเล่นกับลูกวัย 1 เดือน

เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลููกอายุ 1 เดือน

เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลููกอายุ 2 เดือน

เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลููกอายุ 3 เดือน

parenttown

บทความจากพันธมิตร
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ของเล่นเด็ก 2 เดือน พ่อแม่เล่นอะไรกับลูกได้บ้าง
แชร์ :
  • ของเล่นเด็ก สีสดแบบนี้ดีไหม เสริมพัฒนาการหรือเปล่า

    ของเล่นเด็ก สีสดแบบนี้ดีไหม เสริมพัฒนาการหรือเปล่า

  • รวมไอเดีย ประดิษฐ์ของเล่น DIY ของเล่นจากวัสดุเหลือใช้ ทำเองก็ได้ง่าย ๆ

    รวมไอเดีย ประดิษฐ์ของเล่น DIY ของเล่นจากวัสดุเหลือใช้ ทำเองก็ได้ง่าย ๆ

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • ของเล่นเด็ก สีสดแบบนี้ดีไหม เสริมพัฒนาการหรือเปล่า

    ของเล่นเด็ก สีสดแบบนี้ดีไหม เสริมพัฒนาการหรือเปล่า

  • รวมไอเดีย ประดิษฐ์ของเล่น DIY ของเล่นจากวัสดุเหลือใช้ ทำเองก็ได้ง่าย ๆ

    รวมไอเดีย ประดิษฐ์ของเล่น DIY ของเล่นจากวัสดุเหลือใช้ ทำเองก็ได้ง่าย ๆ

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ