X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 1 เดือน

บทความ 3 นาที
เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 1 เดือน

เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลููกอายุ 1 เดือน เเม้จะเป็นเดือนเเรกที่คุณพ่อคุณเเม่ยังมือใหม่สุดๆ อยู่ เเต่พัฒนาการของลูกในเดือนนี้ไม่ธรรมดาเลยนะคะ

เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 1 เดือน

คุณพ่อคุณเเม่อยากรู้ไหมคะว่า เมื่อลูกอายุได้ 1 เดือน มีอะไรเกิดขึ้นกับเขาบ้าง มาดูกันค่ะว่า เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลููกอายุ 1 เดือน

สัปดาห์ที่ 1 

  • ส่วนใหญ่ใน 1 วัน ลูกจะหลับเป็นส่วนใหญ่ เจ้าหนูจะตื่นทุก 2 – 3 ชั่วโมง เพื่อดูดนมคุณเเม่ให้เต็มที่ เเล้วก็จะกลับไปนอนต่อค่ะ
  • น้ำหนักลูกจะลดลง 7-10 เปอร์เซนต์ จากน้ำหนักเเรกคลอดในสัปดาห์นี้ค่ะ เเต่น้ำหนักของลูกก็จะขึ้นมาใหม่ภายในสิ้นสัปดาห์ที่ 2 ค่ะ
  • เเขนเเละขาของลูกจะยังดูโค้งงออยู่เหมือนอยู่ในท้องของคุณเเม่ ไม่จำเป็นต้องดัดเเขนดัดขานะคะ เเขนขาลูกจะเหยียดตรงเองค่ะ
  • ลูกในสัปดาห์นี้รู้จักการสื่อสารเเล้วนะคะ เพียงเเต่คุณพ่อคุณเเม่อาจจะยังไม่รู้เรื่องค่ะ ก็ที่ลูกร้องไห้ ดื้นไปมา จาม เเละสะอึกยังไงละคะ
  • ลูกมองเห็นหน้าคุณพ่อคุณเเม่เเล้วนะคะ ระยะห่างที่ลูกจะเห็นคุณพ่อคุณเเม่ได้ชัดที่สุดคือ 8-12 นิ้วค่ะ
  • ของเล่นที่ดีที่สุดคือคุณพ่อคุณเเม่ค่ะ เเต่ที่รองลงมาคือของเล่นที่มีสีตัดกันเช่น ขาวกับดำ โมบายที่ห้อยบนเตียง ของเล่นนุ่มนิ่มที่มีเสียง เเละกระจกที่ไม่เเตกค่ะ

newborn cry baby

สัปดาห์ที่ 2 

Advertisement
  • รู้สึกว่าลูกหน้าตาเเปลกไปไหมคะ เด็กบางคนน่ารักขึ่น เด็กบางคนก็หน้าตาเเปลกๆ ค่ะ เราพูดถึงเด็กคนเดียวกันใช่ไหมคะ หัวรูปทรงกรวย จมูกบี้ๆ อวัยวะเพศที่บวม เเละถุงใต้ตา หากลูกของคุณพ่อคุณเเม่ไม่เป็น เเสดงความยินดีด้วยค่ะ มีลูกหน้าตาดีนะคะ เเต่ลัษณะที่ว่ามานั้นไม่ใช่เรื่องแปลกค่ะ มันเป็นลักษณะที่เป็นผลมาจากการคลอดลูกยังไงละคะ
  • ในสัปดาห์นี้สายสะดือของลูกก็ควรจะหลุดได้เเล้วนะคะ เเต่ถ้ายังไม่หลุด ไม่นานก็จะหลุดค่ะ ไม่ต้องกังวลไปนะคะ
  • คุณเเม่น่าจะพอจับจุดลูกถูกเเล้ว ในเรื่องของนิสัยการกินนมของลูก หรือกำหนดระยะเวลาที่ลูกกินนมเเล้ว
  • เวลานอนที่เพียงพอต่อลูก ซึ่งในช่วงนี้คืออย่างน้อย 16r ชั่วโมง ถ้านอนมากกว่านั้นจะยิ่งดีค่ะ

สัปดาห์ที่ 3 

  • คุณพ่ออาจจะยังไม่ค่อยรู้สึก เเต่คุณเเม่จะเริ่มรู้ความทรมานของการอดหลับอดนอนเเล้วใช่ไหมละคะ หากลูกบ้านไหนนอนยาวๆ ยินดีกับคุณพ่อคุณเเม่ด้วยนะคะ
  • เนื่องจากคุณพ่อคุณเเม่กำลังคลำทางถูกผิด สิ่งเดียวที่ลูกทำได้คือการร้องไห้ ไม่ว่าจะเหนื่อย หิว ฉี่เเล้ว กอดหนูหน่อย ก็เป็นการร้องไห้เหมือนๆ กัน เเต่ก็สังเกตได้จาก เสียงร้องไห้แบบนี้ทารกอยากบอกอะไร
  • หากลูกไม่สงบลงสักที คุณพ่อคุณเเม่ควรลองไปเรื่อยๆ ค่ะ
  • สิ่งที่สำคัญคือบอกคุณสามีให้ผลัดกันเลี้ยงบ้าง ไม่มีเหตุผลอะไรที่คุณพ่อจะปฏิเสธนะคะ
  • ถ้าปู่ย่าตายายเสนอตัวช่วย รีบรับไว้เลยนะคะ การพักจำเป็นมากจริงๆ ค่ะ มันจะช่วยชาร์ทพลังให้คุณเเม่ได้เยอะเชียวเเหละ
  • ณ สัปดาห์นี้ ลูกอาจจะหิวนมเป็นระยะเวลาที่ประมาณการได้เเล้วนะคะ หรือทุก 2-3 ชั่วโมงค่ะ เเต่อาจขับถ่ายมากถึง 12 ครั้งต่อวัน
  • หากอุจจาระของลูกเป็นสีเขียว ไม่ต้องตกใจค่ะ สารที่อยู่ลำไส้ของลูกกำลังขับออกมาค่ะ ไม่นานนักก็จะกลายเป็นสีออกเหลืองๆ เองค่ะ
  • ลูกควรจะนอนให้ได้ 16 ชั่วโมงต่อวันเหมือนกันสัปดาห์ที่เเล้วนะคะ เด็กๆ ยิ่งนอนเยอะ ยิ่งโตเร็วค่ะ

พัฒนาการผิดปกติ

สัปดาห์ที่ 4 

  • ลูกยิ่งโตยิ่ง Alert ค่ะ การตื่นตัวของเขาเป็นเรื่องปกติ เขาจะใช้เวลาส่วนใหญ่ของวันไปกับการสำรวจสิ่งที่อยู่รอบๆ ตัวเขา เเม้จะดูซนไปบ้าง เเต่มันคือธรรมชาติของเด็กๆ เพราะทุกสิ่งใหม่สำหรับเขาหมด
  • การจัดสภาพเเวดล้อมให้เหมาะสมสำหรับการเลี้ยงเด็กคือ ในห้องต้องไม่มีอะไรที่อันตราย หรือจับต้องไม่ได้ สิ่งนั้นต้องเอาออกไปเก็บไว้ที่อื่นค่ะ
  • ในสัปดาห์นี้ ลูกควรจะนอนยาวในเวลากลางคืนได้บ้างเเล้วค่ะ เเละทางที่ดีก็ควรจะให้ลูกนอนหงาย เพื่อป้องกันการหายใจไม่ออกจนอาจทำให้เกิด โรคไหลตาย (SIDS) มัจจุราชเงียบคร่าชีวิตลูกน้อย ได้นะคะ
  • จับลูกนอนคว่ำ เเละให้เขาพยายามชันคอขึ้นมาจ้องหน้าคุณพ่อคุณเเม่ได้เเล้วนะคะ เป็นการฝึกกล้ามเนื้อคอของลูกค่ะ
  • อย่าวิตกกังวลไปหากตาลูกยังไม่โฟกัสที่คุณพ่อคุณเเม่ สิ่งที่ลูกเห็นจะยังคงเบลอๆ อยู่บ้างค่ะ

ที่มา the Bump

บทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

บทความจากพันธมิตร
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ

พัฒนาการของตัวอ่อนในครรภ์ ในช่วงไตรมาสแรก

พัฒนาการของตัวอ่อนในครรภ์ ในช่วงไตรมาสที่ 2

พัฒนาการของตัวอ่อนในครรภ์ ในช่วงไตรมาสสุดท้าย

parenttown

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 1 เดือน
แชร์ :
  • ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

    ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

  • นิสัยเด็กทารก มีกี่แบบ? วิธีสังเกต ลูกเป็นเด็กแบบไหน ควรเลี้ยงยังไงให้ถูกทาง?

    นิสัยเด็กทารก มีกี่แบบ? วิธีสังเกต ลูกเป็นเด็กแบบไหน ควรเลี้ยงยังไงให้ถูกทาง?

  • อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
    บทความจากพันธมิตร

    อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน

  • ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

    ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

  • นิสัยเด็กทารก มีกี่แบบ? วิธีสังเกต ลูกเป็นเด็กแบบไหน ควรเลี้ยงยังไงให้ถูกทาง?

    นิสัยเด็กทารก มีกี่แบบ? วิธีสังเกต ลูกเป็นเด็กแบบไหน ควรเลี้ยงยังไงให้ถูกทาง?

  • อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
    บทความจากพันธมิตร

    อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว