X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

14 วิธีสังเกต ลูกเสี่ยงเป็นออทิสติก

บทความ 3 นาที
14 วิธีสังเกต ลูกเสี่ยงเป็นออทิสติก

ออทิสติก (Autistic) คือ กลุ่มอาการที่แสดงความผิดปกติของพัฒนาการของเด็ก ลักษณะอาการของเด็กที่เป็นออทิสติก คือ ชอบแยกตัว อยู่กับตัวเอง ไม่พูดหรือติดต่อสื่อสารทางภาษากับคนอื่น และมีปัญหาด้านพฤติกรรม การที่พ่อแม่จะรู้ว่าลูกมีความผิดปกติหรือไม่นั้น สามารถสังเกตได้เมื่อลูกมีอายุ 3 เดือนขึ้นไป โดยสังเกตจากภาษาทางกาย เพราะเด็กปกติจะมีการโต้ตอบกับพ่อแม่ จะยิ้ม หัวเราะ จดจำหน้าพ่อแม่ได้ และมีการตอบสนอง ส่วนเด็กที่เป็นออทิสติก จะแสดงอาการเฉยๆ เมื่อเห็นสิ่งรอบข้าง และมีการกระทำที่ซ้ำๆ ซากๆ เช่น ขยับมือแบบเดิมๆ หรือเพ่งมองอะไรซ้ำๆ หากพบพฤติกรรมเช่น 14 ข้อด้านล่างนี้ คุณพ่อคุณแม่ควรรีบเข้าพบและปรึกษาแพทย์ทันที

  • คุณพ่อคุณแม่ลองเช็คพฤติกรรมของลูกๆด้วย 14 วิธีสังเกต ลูกเสี่ยงเป็นออทิสติก ดังนี

1. อายุ 2 – 3 เดือน ไม่สามารถสบตาได้

2. อายุ 3 เดือน ไม่สามารถยิ้มให้พ่อแม่หรือไม่ยิ้มเมื่อได้ยินเสียงพ่อแม่

ลูกเสี่ยงเป็นออทิสติก

ลูกเสี่ยงเป็ นออทิสติก

3. อายุ 6 เดือน ไม่สามารถส่งเสียงหัวเราะหรือไม่แสดงท่าทางอาการดีใจใดๆ

4. อายุ 8 เดือน ไม่ร้องเรียกหาหรือมองตามเมื่อพ่อแม่ออกห่าง

5. อายุ 9 เดือน ไม่ส่งเสียงอ้อแอ้หรือไม่พูดคุย

6. อายุ 1 ขวบ ไม่ตอบสนองเมื่อถูกเรียกชื่อ

7. อายุ 1 ขวบ ไม่ใส่ใจเสียงเรียกของบุคคลรอบข้าง แต่มักไปยึดติดกับเสียงอื่นๆรอบตัว

อ่านต่อหน้าถัดไปเลยค่ะ 8. อายุ 1 ขวบ ไม่ออกเสียงตอบโต้ใดๆ

ลูกเสี่ยงเป็นออทิสติก

ลูกเสี่ย งเป็นออทิสติก

9. อายุ 1 ขวบ ไม่สามารถโบกมือบายๆได้

Advertisement

10. อายุ 1 ขวบ ไม่มองตามที่ชี้

11. อายุ 1 ขวบ 4 เดือน ไม่เริ่มพูดคุย

12. อายุ 1 ขวบ 6 เดือน ไม่สามารถแสดงความสนใจหรือบอกสิ่งที่ชื่นชอบได้

13. อายุ 2 ขวบ ไม่สามารถออกเสียง 2 พยางค์ได้

14. ในแต่ละครั้ง เมื่อทำสิ่งใดได้จนชำนาญ แต่เมื่อเวลาผ่านไปก็ไม่สามารถทำได้แล้ว

ลูกเสี่ยงเป็นออทิสติก

ลูกเสี่ยงเป็น ออทิสติก

เมื่อเราสามารถสังเกตเห็นความผิดแปลกของพฤติกรรมลูกได้เร็วเท่าไร ก็ยิ่งจะได้เข้ารับการรักษาหรือบำบัดได้เร็วขึ้นเท่านั้น ซึ่งจะช่วยให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีขึ้น และสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้ตามศักยภาพที่สามารถพัฒนาได้ โดยไม่เป็นภาระและไม่รู้สึกแปลกแยกหรือแตกต่างจากเด็กคนอื่นๆ

ลูกเสี่ยงเป็นออทิสติก

ลูกเสี่ยงเป็นอ อทิสติก

 

ที่มาจาก www.parenting.com

บทความอื่นๆที่น่าสนใจ

บทความจากพันธมิตร
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
โรคภูมิแพ้ในเด็ก ป้องกันได้ตั้งแต่แรกเกิด ด้วยนมแม่ที่มีคุณสมบัติเป็น H.A. (Hypoallergenic)
โรคภูมิแพ้ในเด็ก ป้องกันได้ตั้งแต่แรกเกิด ด้วยนมแม่ที่มีคุณสมบัติเป็น H.A. (Hypoallergenic)
พ่อแม่ต้องรู้! วิธีป้องกัน RSV ในเด็ก ช่วยลูกไม่ป่วยหนัก
พ่อแม่ต้องรู้! วิธีป้องกัน RSV ในเด็ก ช่วยลูกไม่ป่วยหนัก

ลูกพูดช้า จะเป็นออทิสติกหรือเปล่า? โดย ผศ.พญ.รวีรัตน์ สิชฌรังษี

ลูกเข้ากับเพื่อนไม่ได้ ทำอย่างไรให้ลูกมีทักษะสังคมที่ดี

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • 14 วิธีสังเกต ลูกเสี่ยงเป็นออทิสติก
แชร์ :
  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

    เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

    เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว