X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

13 เหตุผล ทำไมลูกวัย 3 ขวบ ถึงดีจับใจและแสบจับจิต

บทความ 3 นาที
13 เหตุผล ทำไมลูกวัย 3 ขวบ ถึงดีจับใจและแสบจับจิต

เป็นเรื่องปกติหากคุณพ่อคุณแม่เริ่มเห็นพฤติกรรมหรืออาการไม่พอใจของเด็กๆ ในวัยที่เริ่มเข้าสู่อายุ 2-3 ขวบ ถึงแม้ลูกในวัยนี้จะเป็นช่วงวัยที่กำลังน่ารักที่สุดก็ตาม เพราะเด็กในวัยนี้เริ่มมีความคิดเป็นของตัวเองแล้ว และยังปรับอารมณ์ได้ดีไม่เท่ากับผู้ใหญ่ จนเกิดความสับสนส่งผลให้อารมณ์แปรปรวน เราอาจจะเจอลูกในวัย 3 ขวบ ที่จู่ๆ ก็ดีจับใจหรือแสบจับจิต จนบางที่พ่อแม่ก็ตั้งรับไม่ทันเหมือนกัน

เจ้าตัวน้อยใน 3 ขวบ อาจทำให้เรา “สุข” และ “สุด” ได้ เมื่อพบว่าวันหนึ่งขณะที่คุณกำลังนั่งเล่นกับลูกอยู่ดีๆ แต่แล้วลูกของคุณกลับเปลี่ยนใจไปเล่นของเล่นอย่างอื่น พอถูกห้ามเข้า คุณอาจจะถูกลูกขึ้นเสียงดังใส่ หรือบอกว่า “ไม่รักพ่อแม่แล้ว” มาดูเหตุผลน่ารักๆ ว่าทำไมลูกในวัย 3 ขวบของคุณถึงดี๊ดีแต่บางเวลาก็กลายเป็นตัวแสบสุดๆ ที่ทำให้เราหลงรัก

13 เหตุผล ทำไมลูกวัย 3 ขวบ ถึงดีจับใจและแสบจับจิต

เหตุผลทำไมลูกถึงดีที่สุด

  1. ลูกจะเต็มไปด้วยคำศัพท์ใหม่ๆ มาพูดให้คุณฟัง โดยที่คุณคิดไม่ถึงว่าพวกเขาจะรู้
  2. ลูกอาจจะพูดโน่นพูดนี่มากมายเสียงเจื้อยแจ้ว จนคุณอาจจะนึกไปว่าตอนนี้คุณกำลังฟังเขาเดี่ยวไมค์โครโฟนอยู่
  3. เสียงหัวเราะของลูกเป็นเสียงที่เพราะที่สุดในโลก
  4. เด็กๆ จะมีชื่อเรียกสำหรับสิ่งของต่างๆ ของเขาเอง เช่น หมอนข้างคือหนอนยักษ์
  5. เมื่อถึงเวลาสนุก เด็กๆ จะทั้งร้องทั้งเต้นอย่างสนุกได้โดยกลัวขายหน้าหรือเขินอาย ทำให้เราได้อมยิ้ม
  6. ลูกคิดว่าการ “ตด” เป็นเรื่องสนุกที่สุดเท่าที่เคยทำ และหันมายิ้มให้ทุกครั้งที่ตัวเองตด
  7. ลูกเหมือนเป็นคนตัวเล็กๆ และเป็นสิ่งที่น่ารักที่สุดเท่าที่เคยมี

ลูกวัย 3 ขวบ

แล้วทำไมลูกถึงเป็นสุดยอดตัวแสบ

บทความจากพันธมิตร
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา
รวม 5 ที่เรียนภาษาอังกฤษระดับแนวหน้า ตอบโจทย์ทุกช่วงวัย พร้อมเทคนิคเรียนดีที่ไม่ควรพลาด!
รวม 5 ที่เรียนภาษาอังกฤษระดับแนวหน้า ตอบโจทย์ทุกช่วงวัย พร้อมเทคนิคเรียนดีที่ไม่ควรพลาด!
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
  1. เรามักจะเจอกับความจริงจังอย่างไม่น่าเชื่อกับทุกสิ่งทุกอย่างของลูก เช่น แก้วน้ำใบที่ลูกใช้ ถ้าหยิบใช้ใบอื่นก็จะไม่ยอม หรือแม้แต่กระทั่งแม่ใช้แก้วของพ่อก็จะบอกว่าไม่ใช่ ใช้ไม่ได้
  2. เด็กๆ ทั้งรู้เรื่องน้อยและรู้เรื่องมากในเวลาเดียวกัน เช่น ผู้หญิงท้องโต หมายถึงมีน้องอยู่ในท้อง แต่ลูกก็ไม่รู้ว่าที่ผู้หญิงท้องโตนั้นไม่ได้หมายความว่าจะมีน้องอยู่ข้างในทุกคน
  3. ถึงแม้ลูกวัย 3 ขวบจะถอดกางเกงเข้าห้องน้ำเป็นแล้ว แต่ก็ใช่ว่าลูกจะไม่ฉี่ราดได้อีก
  4. เมื่อเล่นของเล่นเสร็จแล้ว อย่างน้อยลูกก็ไม่ยอมที่จะเก็บของคนเดียว
  5. เมื่อถึงเวลานอน ลูกจะไม่ยอมนอนแม้ว่าจะง่วงมากแค่ไหน
  6. บางทีเราก็ฟังประโยคที่ลูกจะสื่อสารไม่ออก ทั้งๆ ที่พวกเขาก็พยายามจะอธิบายสิ่งนั้น แต่ก็ไม่รู้ว่าพวกเขาพูดคำว่าอะไร จนบางทีก็เห็นลูกแอบโมโหเราเสียเอง

จริงๆ พฤติกรรมเหล่านี้เกิดขึ้นจากธรรมชาติของเด็กๆ เด็กวัยนี้เริ่มจะเรียนรู้อะไรต่างๆ ได้มากขึ้น ช่างพูดมากขึ้น พยายามหยิบจับที่จะช่วยเหลือตัวเองและดูแลตัวเอง และเมื่อถึงวัยที่เริ่มโตขึ้นพฤติกรรมหลายๆ อย่างของลูกจะเริ่มเปลี่ยนไป นอกจากคุณพ่อคุณแม่จะเป็นนักอดทนที่ดีแล้ว อย่าลืมใช้วิธีสอนลูกอย่างถูกต้องด้วยนะคะ เพราะการที่เราได้เฝ้ามองเห็นลูกเติบโตและเป็นคนดีเป็นสิ่งที่ดีที่สุดจริงๆ

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ
ความฝันของเด็ก 3 ขวบคนนี้จะทำให้คุณน้ำตาซึม
พัฒนาการลูกน้อยช่วงอายุ 1 – 3 ขวบ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • 13 เหตุผล ทำไมลูกวัย 3 ขวบ ถึงดีจับใจและแสบจับจิต
แชร์ :
  • พัฒนาการเด็ก 3 ขวบ 3 ขวบครึ่ง เทคนิคส่งเสริมพัฒนาการตามวัย

    พัฒนาการเด็ก 3 ขวบ 3 ขวบครึ่ง เทคนิคส่งเสริมพัฒนาการตามวัย

  • คุณแม่ตั้งครรภ์ ควรทานอาหารเพิ่มขึ้นเท่าไรดี?

    คุณแม่ตั้งครรภ์ ควรทานอาหารเพิ่มขึ้นเท่าไรดี?

  • เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

    เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • พัฒนาการเด็ก 3 ขวบ 3 ขวบครึ่ง เทคนิคส่งเสริมพัฒนาการตามวัย

    พัฒนาการเด็ก 3 ขวบ 3 ขวบครึ่ง เทคนิคส่งเสริมพัฒนาการตามวัย

  • คุณแม่ตั้งครรภ์ ควรทานอาหารเพิ่มขึ้นเท่าไรดี?

    คุณแม่ตั้งครรภ์ ควรทานอาหารเพิ่มขึ้นเท่าไรดี?

  • เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

    เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ