X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เเท้งเเล้วท้องต่อได้เลย แบบนี้ก็ได้รึเปล่า น่าห่วงไหม? อันตรายแค่ไหน?

บทความ 3 นาที
เเท้งเเล้วท้องต่อได้เลย แบบนี้ก็ได้รึเปล่า น่าห่วงไหม? อันตรายแค่ไหน?

นานแค่ไหนถึงเรียกว่าปลอดภัยหากจะตั้งครรภ์อีกครั้ง ระหว่างงานวิจัยใหม่ที่บอกว่าสามารถตั้งครรภ์ได้ก่อน 6 เดือน เเละคำเเนะนำจาก WHO ที่ควรรอหลังจาก 6 เดือน

เเท้งเเล้วท้องต่อได้เลย แบบนี้ก็ได้รึเปล่า น่าห่วงไหม? อันตรายแค่ไหน?

เเท้งเเล้วท้องต่อได้เลย คำแนะนำขององค์การอนามัยโลกบอกว่าหลังจากคุณแม่ตั้งครรภ์เกิดการแท้งลูก ควรรอถึง 6 เดือน จึงจะสามารถตั้งครรภ์ได้ใหม่อีกครั้ง แต่งานวิจัยใหม่ชิ้นนี้มีผลงานวิจัยที่ขัดแย้งกับคำแนะนำของ WHO โดยอ้างอิงจากงานวิจัยก่อนหน้านี้ทั้ง 10 ชิ้น ซึ่งไม่พบความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นหากคุณแม่จะตั้งครรภ์ก่อน 6 เดือนหลังจากแท้ง

แม่ตั้งครรภ์หลังจากแท้งไม่ถึง 6 เดือน เสี่ยงอะไรบ้าง

มีภาวะแทรกซ้อนอย่างเช่น การแท้ง การคลอดก่อนกำหนด น้ำหนักแรกเกิดของทารกต่ำ ครรภ์เป็นพิษ ความดันเลือดสูง แต่ก็เป็นความเสี่ยงที่น้อยมากๆ โดยข้อมูลที่ WHO ยกมาอ้างอิงนั้นเก็บข้อมูลจากพื้นที่แถบลาติน-อเมริกา โดยไม่ได้แยกระหว่างการแท้งธรรมชาติและการทำแท้งอีก

อย่างไรก็ตาม เมื่อทีมนักวิจัยนำข้อมูลงานวิจัยก่อนหน้ามาวิเคราะห์ก็พบว่า การตั้งครรภ์หลังจากการแท้งลูกก่อน 6 เดือนนั้นไม่ได้ทำให้คุณแม่และลูกในท้องมีอันตราย เนื่องข้อมูลต่างๆ เช่น ข้อมูลที่เกี่ยวกับทารกที่เสียชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์และครรภ์เป็นพิษ ไม่ได้บ่งบอกถึงความแตกต่างระหว่างแม่ที่ตั้งครรภ์หลังแท้งเร็วและช้า

หลังจากแท้งนาน ต้องรอนานแค่ไหน

ก่อนอื่นคุณแม่ต้องสังเกตอาการตัวเองก่อนว่า หากแท้งเองตามธรรมชาติ มีอาการปวดท้องหรือไม่ หากไม่มีแสดงว่าท้องครบ ไม่จำเป็นต้องขูดมดลูก แต่หากยังมีอาการปวดท้องเล็กน้อย และมีเลือดออกนิดหน่อย อาจจะแท้งไม่ครบ ต้องไปหาคุณหมอเพื่อขูดมดลูก เนื่องจากถ้าปล่อยไว้อาจเกิดการติดเชื้อในมดลูกอย่างรุนแรง แต่ถ้าจะให้แน่ใจ ควรตรวจอย่างละเอียดกับสูตินรีแพทย์ค่ะ

หลังจากแท้งแล้ว ควรงดมีเพศสัมพันธ์ก่อน 4-6 สัปดาห์ เนื่องจากปากมดลูกยังปิดไม่สนิท อาจทำให้ติดเชื้อในมดลูกได้ ส่วนการจะกลับมาตั้งครรภ์ได้อีกเมื่อไหร่นั้น ขึ้นกับสาเหตุของการแท้งและการรักษาอื่นๆ เช่น

  • หากคุณแม่แท้งครบไม่มีการขูดมดลูก หรือแท้งไม่ครบและมีการขูดมดลูกควรคุมกำเนิดอย่างน้อย 1-3 เดือน แล้วจึงค่อยปล่อยให้ตั้งครรภ์ได้ค่ะ
  • หากเป็นการผ่าตัดมดลูกที่ต้องผ่าผ่านผนังมดลูกเข้าไป ควรเว้นช่วงการตั้งครรภ์ไป 6-12 เดือนค่ะ

ที่มา หาหมอ และ livescience

Advertisement

 

บทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

5 เทคนิคดีๆ รับมือกับการแท้งลูก

ไม่อยากแท้งต้องรู้ ความจริงที่ทำให้แม่ท้องต้องเสี่ยงแท้ง

บทความจากพันธมิตร
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
4 อาการคนท้อง  ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
4 อาการคนท้อง ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • เเท้งเเล้วท้องต่อได้เลย แบบนี้ก็ได้รึเปล่า น่าห่วงไหม? อันตรายแค่ไหน?
แชร์ :
  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว