X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เตือนภัยจากมือถือและแท็บเล็ต กรมสุขภาพจิตแนะ 'นั่งให้น้อย เล่นให้เยอะ!'

บทความ 3 นาที
เตือนภัยจากมือถือและแท็บเล็ต กรมสุขภาพจิตแนะ 'นั่งให้น้อย เล่นให้เยอะ!'

กรมสุขภาพจิตแนะนำพฤติกรรมที่อายุ 1-5 ขวบควรทำและภัยร้ายของ โทรศัพท์-แท็บเล็ต มีผลต่อการพัฒนาสติปัญญาและสมองแน่นอน!

เตือนภัยจากมือถือและแท็บเล็ต กรมสุขภาพจิตแนะ ‘นั่งให้น้อย เล่นให้เยอะ!’

 

เตือนภัยจากมือถือและแท็บเล็ต

เตือนภัยจากมือถือและแท็บเล็ต

ในยุคปัจจุบันเทคโนโลยีและแก็ดเจ็ดเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตเราทุกคนไม่ว่าจะในเรื่องของการทำงาน การใช้ชีวิต และแน่นอนการเลี้ยงดูลูก หลายคนนำมือถือหรือแท็ปเล็ตเข้ามาใช้เป็นเครื่องมือช่วยเลี้ยงลูกของเราโดยการให้ลูกดูสิ่งต่างๆในเครื่องมือเหล่านี้โดยที่ไม่รู้เลยว่าถ้ามันมากเกินไปบางครั้งก็อาจจะเป็นโทษมากกว่าประโยชน์ด้วยซ้ำโดยวันนี้เราจะมา เตือนภัยจากมือถือและแท็บเล็ต

จากการรายงานของกรมสุขภาพจิตทำให้เราเห็นว่า ผู้ใหญ่มากกว่า 23% และวัยรุ่นมากกว่า 80% มีกิจกรรมทางกายภาพที่ไม่เพียงพอและยังพบว่าพฤติกรรมเนือยนิ่งมากกว่าปกติ กรมสุขภาพจิตจึงแนะนำให้ผู้ปกครองที่ดูแลบุตรหลาน ควรปฏิบัติตามคำแนะนำจากองค์การอนามัยโลกฉบับล่าสุดที่ออกประกาศใช้นั้นก็คือการลดพฤติกรรมที่เนือยนิ่ง เช่น การนั่งเฉยๆโดยไม่ทำอะไร การนั่งติดกับสายรัดในรถเข็น รวมถึงการนั่งดูโทรทัศน์ โทรศัพท์ หรือแก็ดเจ็ดประเภทที่มีหน้าจอ ควรเพิ่มพฤติกรรมที่มีการเคลื่อนไหวมากขึ้น เช่นการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และเน้นการนอนหลับที่มีคุณภาพและสำคัญมากคือการควบคุมเวลาหน้าจออย่างเข้มงวด

เดินเล่นกับลูกแค่ครึ่งชั่วโมง กระชับความผูกพัน

ยิ่งไปกว่านั้นจากการศึกษายังค้นพบว่าเด็กเล็กคนไหนที่มีพฤติกรรมใช้ มือถือ แก็ดเจ็ดหรือติดเทคโนโลยีหน้าจอนั้นมีแนวโน้มว่าการพัฒนาทางปัญญาและอารมณ์นั้นค่อนข้างได้คะแนนที่น้อยกว่ากว่าเด็กที่ไม่ใช้เวลากับสิ่งเทคโนโลยีเหล่านี้

Advertisement

โดยองค์กรอนามัยโลกนั้นมีการแนะนำให้เด็กแต่ละวัยตั้งแต่ช่วงอายุ 1 ถึง 5 ขวบมีกิจกรรมที่ใช้เวลาแตกต่างกันไปโดยแบ่งออกกิจกรรมออกเป็น 3 รูปแบบได้แก่; การเคลื่อนไหว การใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีประเภทที่มีจอ และการนอน โดยจะแบ่งออกเป็นช่วงอายุ

เด็กอายุต่ำกว่า 1 ขวบ

  • การเคลื่อนไหว : ควรเคลื่อนไหวหลายครั้งต่อและควรเคลื่อนไหว
    ติดต่อกัน
    30 นาที
  • การใช้หน้าจอ : ไม่ควรใช้เด็ดขาด แนะนำให้ผู้ปกครองใช้การเล่านิทาน
    หรืออ่านหนังสือ
  • การนอน : ควรนอน 14-17 ชั่วโมง/วัน

เด็กอายุ 1-2 ขวบ

  • การเคลื่อนไหว : ควรเคลื่อนไหวร่างกายวันละ 180 นาที หรือมากกว่า
  • การใช้หน้าจอ : เด็กอายุ 1 ขวบไม่ควรใช้ /เด็กอายุ 2 ขวบ จำกัด 1ชม/1วัน
  • การนอน : ควรนอน 11-14 ชั่วโมง/วัน

เด็กอายุ 3-4 ขวบ

  • การเคลื่อนไหว : ควรเคลื่อนไหวร่างกายวันละ 180 นาที หรือมากกว่า(โดยเน้นกิจกรรมที่ใช้พลังงานมาก)
  • การใช้หน้าจอ : จำกัดเวลา 1ชม/1วัน
  • การนอน : ควรนอน 10-13 ชั่วโมง/วัน

จากตารางจึงสรุปได้ว่าผู้ปกครองควรเอาใจใส่ลูกและชักชวนลูกให้เคลื่อนไหว และที่สำคัญการหลีกเลี่ยงการใช้มือถือและแก็ดเจ็ดนั้นสำคัญมาก เพราะการพัฒนาความฉลาดทางปัญญา อารมณ์ นั้นจะดีขึ้นมากหากหลีกเลี่ยงเทคโนโลยีที่มันมากเกินไป

การส่งเสริมสุขภาพที่ดีและการพัฒนาปัญญาและอารมณ์นั้นควรจะเริ่มตั้งแต่เด็กเล็ก เพราะสิ่งเหล่านี้จะส่งผลที่ดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตเมื่อโตขึ้นในอนาคต

 

ความคิดเห็นของคุณคืออะไร

บทความจากพันธมิตร
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ

ที่มา : Children glued to screens show delays in key skills ,กรมประชาสัมพันธ์กรมสุขภาพจิต 

,https://www.it24hrs.com/2019/baby-electronic-device-warning/

บทความอื่นๆที่น่าสนใจ :

เช็กพฤติกรรม “ลูกติดโทรศัพท์” ส่งผลสมาธิสั้น

ลูกติดเกม ติดมือถือ อันตราย! วิธีเลี้ยงดูลูกอย่างไร ไม่ให้ลูกเสพติดจอ อย่าทำร้ายสุขภาพลูก

6 วิธีแก้เด็กติดจอ ดูแลลูกอย่างไรไม่ให้ติดโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

bossblink

  • หน้าแรก
  • /
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • /
  • เตือนภัยจากมือถือและแท็บเล็ต กรมสุขภาพจิตแนะ 'นั่งให้น้อย เล่นให้เยอะ!'
แชร์ :
  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว