X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกชอบเถียง ไม่เชื่อฟังพ่อแม่ พูดจายอกย้อน นิสัยแบบนี้พ่อแม่ควรจัดการอย่างไร

บทความ 3 นาที
ลูกชอบเถียง ไม่เชื่อฟังพ่อแม่ พูดจายอกย้อน นิสัยแบบนี้พ่อแม่ควรจัดการอย่างไร

ลูกชอบเถียง พ่อแม่บางคนอาจกลัวว่าลูกโตไปอาจจะกลายเป็นเด็กก้าวร้าว รามปาม ไม่เคารพผู้หลักผู้ใหญ่ แต่พ่อแม่รู้ไหม ปล่อยให้ลูกเป็นเด็กที่ชองเถียงบ้างสิดี

ลูกชอบเถียง พ่อแม่ควรทำอย่างไร

ลูกชอบเถียง พ่อแม่หลายคนมองว่าเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เป็นเพราะความเชื่อที่ถูกพร่ำสอนกันมารุ่นต่อรุ่นที่ว่า “เป็นเด็กเป็นเล็กอย่าหัดเถียงผู้ใหญ่” แต่บางครั้งการเถึยงของเด็กไม่ใช่เป็นการเถียงเพื่อต้องการเอาชนะ หรือหักหน้าผู้ใหญ่ หรือเป็นการต่อต้านพ่อแม่ แต่มันเป็นการโต้แย้งโดยใช้เหตุผลมากกว่า ซึ่งการสอนให้ลูกหัดเถียงแบบนี้เป็นสิ่งที่พ่อแม่ควรสอน ไม่ใช่ห้ามปราม เพราะเด็กจะได้กลายที่จะเสนอความคิดของตัวเองได้ค่ะ

ฝึกให้ลูกเป็นเด็กชอบเถียงดีอย่างไร

การเถียงของเด็กแบบมีหลักการและเหตุผล กลายเป็นทักษะที่จำเป็นต่อการเอาตัวรอดในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากในโลกของเด็กเองก็มีความเห็นต่าง มีความขัดแย้งกันไม่ต่างกับวัยของผู้ใหญ่ ดังนั้น พ่อแม่จึงควรสอนลูกในรู้จักการตอบโต้บ้าง เพราะจะได้สอนให้เด็กรู้จักการแยกแยะข้อมูล ข่าวสารทั้งจริงและเท็จออกจากกัน โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ และคัดกรองได้อย่างเหมาะสมค่ะ

ทางด้าน อลิสัน โจนส์ (Alyson Jones) นักบำบัดและผู้เขียนหนังสือ M.O.R.E. A New Philosophy for Exceptional Living ได้กล่าวในหนังสือของเขาว่า

“เราไม่ได้มีหน้าที่ปกป้องเขาจากปัญหาความขัดแย้งทุกอย่างในชีวิต อันที่จริงปัญหาเหล่านั้นจะช่วยให้พวกเขาสร้างเครื่องมือสำคัญในชีวิตที่เราต่างก็อยากให้พวกเขามีใจจะขาด”

วิธีฝึกลูกให้เป็นนักคิด

  1. พูดเรื่องที่เข้าใจยากต่อหน้าลูกบ้าง เช่น ความเป็นไปของโลก ศิลปะ วัฒนธรรม การเมือง เป็นต้น
  2. เปิดใจและยอมรับในความแตกต่างที่อยากรู้อยากเห็นของลูก แต่การเปิดใจกว้างไม่ใช่จะเปิดทุกอย่าง และต้องมีขอบเขตที่มั่นคงสม่ำเสมอโดยไม่เข้มงวดเกินไป
  3. สอนให้ลูกน้อยรู้จักอารมณ์ของตัวเอง และรู้จักวิธีการควบคุมอารมณ์ด้วย
  4. ใช้การพูดคุยกันภายในบ้านให้เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน โดยเลี่ยงการวิจารณ์ เพราะยิ่งวิจารณ์การพูดคุยยิ่งถูกปิดตาย
  5. เป็นตัวอย่างของการเคารพความเห็นคนอื่น ลองเลือกหัวข้อที่รู้แน่ๆ ว่าคุณกับลูกความเห็นไม่ตรงกัน จากนั้นก็แสดงให้เขาเห็นว่าคุณสามารถเคารพอีกฝ่ายได้แม้จะคิดไม่เหมือนกันเลยก็ตาม
  6. ให้เด็กได้ตัดสินใจเองจริงๆ เขาจะได้มีประสบการณ์เรื่องความสำเร็จและล้มเหลวเป็นของตัวเอง
  7. พ่อแม่ต้องเป็นต้นแบบให้ลูก คอยคิดและอธิบายให้พวกเขาเข้าใจ โดยใช้เหตุผลประกอบเสมอ
ลูกชอบเถียง

ลูกชอบเถียง

Advertisement

วิธีการฝึกให้ลูกเถียงอย่างมีเหตุผล

  1. ให้การเถียงเป็นเรื่องสนุก ด้ววยการหาประเด็นจากหนังสือหรือหนังที่พวกเขาชอบ และค่อยๆ ขยับไปเป็นเรื่องที่ใหญ่กว่าเมื่อพวกเขาโตขึ้น
  2. สอนให้ลูกรู้จักอธิบายความคิดเห็นของตัวเอง โดยใช้การคิดวิเคราะห์มาประกอบ เช่น ลูกคิดแบบนี้ เพราะอะไร
  3.  ทำให้ผิดหวังบ้าง เพราะเขาไม่อาจได้รับทุกอย่างตามที่คาดหวังเอาไว้
  4. สอนให้ลูกรู้จักแสวงหาความจริง เชื่อถือได้มากแค่ไหน
  5. เวลาที่ลูกอธิบายพ่อแม่อาจมีการแย้งบ้าง หรือให้ลูกหรือคิดว่าถ้าคนอื่นจะแย้งเขาจะแย้งว่าอะไร เพื่อให้ลูกฝึกความคิดให้รอบด้าน

ฝึกลูกให้หัดคิด-วิเคราะห์-แยกแยะดีอย่างไร

เดวิด แรนด์ (David Rand) นักพฤติกรรมศาสตร์จากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (MIT) ได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับข่าวปลอมบนสื่อออนไลน์ พบว่า ความเชื่อในข่าวปลอมไม่เพียงเชื่อมโยงกับการบั่นทอนทักษะการคิดวิเคราะห์เท่านั้น แต่ยังโยงไปถึงรากฐานของการหลงผิดและเชื่อมั่นในตัวเองอย่างไม่ลืมหูลืมตาด้วย นั่นหมายความว่า การฝึกให้ลูกคิดเป็น วิเคราะห์ได้ จะทำให้ลูกกลายเป็นเด็กที่ไม่เชื่อคนง่ายค่ะ

ทางด้าน ดร.ซูซาน การ์ดเนอร์ (Susan Gardner) ผู้ร่วมก่อตั้งสถาบันด้านปรัชญาสำหรับเด็กแห่งแวนคูเวอร์ (Vancouver Institute of Philosophy for Children) ได้สรุปไว้ว่า

“การคิดเป็นสิ่งจำเป็นในการสื่อสารที่สร้างสรรค์เพื่อพัฒนาจิตใจและอารมณ์ที่แข็งแรง ไว้รับมือกับแรงกดดันในชีวิต เพื่อการตัดสินใจที่ดีและการเติบโตของตนเอง ดังนั้น การคิดไม่ใช่แค่สิ่งที่ ‘เพิ่งเกิดขึ้น’ เท่านั้น และการคิดต้องอาศัยการเรียนรู้ด้วย”

ที่มา: thepotential

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ:

วิธีป้องกันอุบัติเหตุในบ้าน ลูกเล็ก เด็กวัยซน ห้ามลูกเล่นไม่ได้! พ่อแม่ต้องปกป้องลูก

โรคพฤติกรรมผิดปกติในเด็ก 3 โรคพฤติกรรมเด็ก วิธีสังเกตลูกเป็นโรคพฤติกรรมผิดปกติหรือไม่

ทำบัตรประชาชนเด็ก 7 ขวบ ครั้งแรก ทำที่ไหน ทำอย่างไร ต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง

บทความจากพันธมิตร
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Khunsiri

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ลูกชอบเถียง ไม่เชื่อฟังพ่อแม่ พูดจายอกย้อน นิสัยแบบนี้พ่อแม่ควรจัดการอย่างไร
แชร์ :
  • ทำไมไม่มีใครเล่นกับหนู?  รับมือ ลูกไปโรงเรียนครั้งแรก อย่างเข้าใจหัวใจเด็ก

    ทำไมไม่มีใครเล่นกับหนู? รับมือ ลูกไปโรงเรียนครั้งแรก อย่างเข้าใจหัวใจเด็ก

  • ลูกชอบตีตัวเอง สัญญาณเตือนที่พ่อแม่ต้องรู้ และวิธีหยุดอย่างปลอดภัย

    ลูกชอบตีตัวเอง สัญญาณเตือนที่พ่อแม่ต้องรู้ และวิธีหยุดอย่างปลอดภัย

  • ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

    ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

  • ทำไมไม่มีใครเล่นกับหนู?  รับมือ ลูกไปโรงเรียนครั้งแรก อย่างเข้าใจหัวใจเด็ก

    ทำไมไม่มีใครเล่นกับหนู? รับมือ ลูกไปโรงเรียนครั้งแรก อย่างเข้าใจหัวใจเด็ก

  • ลูกชอบตีตัวเอง สัญญาณเตือนที่พ่อแม่ต้องรู้ และวิธีหยุดอย่างปลอดภัย

    ลูกชอบตีตัวเอง สัญญาณเตือนที่พ่อแม่ต้องรู้ และวิธีหยุดอย่างปลอดภัย

  • ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

    ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว