X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

อย่าชะล่าใจ โรคจิตหลังคลอด ภาวะหนักกว่าโรคซึมเศร้าที่แม่ลูกอ่อนต้องระวัง!!

บทความ 3 นาที
อย่าชะล่าใจ โรคจิตหลังคลอด ภาวะหนักกว่าโรคซึมเศร้าที่แม่ลูกอ่อนต้องระวัง!!

คุณแม่มือใหม่หลังคลอด อย่าชะล่าใจ!! อาการที่น่าเป็นห่วงที่อาจเกิดขึ้นได้โดยไม่รู้ตัว นอกจากภาวะซึมเศร้าที่เราอาจเคยได้ยินบ่อย ๆ แล้ว ยังมีอาการ “โรคจิตหลังคลอด” ที่อาจเกิดขึ้นได้

โรคจิตหลังคลอด ภาวะหนักกว่าโรคซึมเศร้าที่แม่ลูกอ่อนต้องระวัง!!

โรคจิตหลังคลอด (Postpartum psychosis) สามารถเริ่มเกิดได้ตั้งแต่หลังคลอด 4 สัปดาห์ โดยจะมีอาการรุนแรงมากกว่าโรคซึมเศร้าหลังคลอดและอาจจะหนักถึงขั้นเป็นโรคจิต ทำให้คุณแม่มีอาการหงุดหงิด สับสน นอนไม่หลับ หรือถ้ามีใครขัดใจก็จะโกรธรุนแรง เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้ายคล้ายคลึงกับโรคไบโพล่า ในรายที่เป็นมาก ๆ อาจมีอาการได้ยินเสียงแว่วหรือภาพหลอนทางประสาท ซึ่งอาจทำร้ายลูกหรือทำร้ายตัวเองได้ แม้ว่าโรคนี้จะพบได้น้อยมากหรือประมาณ 1% ของแม่มือใหม่ โดยมีรายงานจากต่างประเทศว่า พบได้ประมาณ 1-2 รายจากการคลอด 1,000 รายเท่านั้น แต่หากพบว่าแม่มีอาการโรคจิตหลังคลอดนั้นควรรีบไปพบแพทย์ทันที ซึ่งแนวทางการรักษาจำเป็นต้องได้รับรักษาตัวในโรงพยาบาล เพื่อการดูแลอย่างใกล้ชิดจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้วยการใช้ยาและจิตบำบัดร่วมด้วย

โรคจิตหลังคลอด

สาเหตุของโรคจิตหลังคลอดอาจจะแตกต่างกัน โดยมวลของอาการส่วนใหญ่พื้นฐานเกิดจาก

  • ความวิตกกังวลอย่างต่อเนื่อง และอาจเกิดขึ้นได้ทันทีหลังคลอดหรือภายในช่วงสัปดาห์แรกหลังคลอด
  • บางคนก็อาจมีภาวะซึมเศร้าอย่างรุนแรงร่วมกับอาการหลงผิดและภาพหลอน เห็นและได้ยินสิ่งที่ไม่มีตัวตน
  • มีอาการผิดปกติอื่น ๆ ที่มาตามประเภทของโรคจิตเฉียบพลัน เช่น อาจจะเกิดความกลัวและหวาดระแวงมากขึ้น ไม่แน่ใจว่าสิ่งใดเป็นเรื่องจริงหรือไม่ใช่เรื่องจริง
  • มีความคิดว่าจะทำร้ายลูกหรือทำร้ายตนเองได้
  • มีความคิดว่าจะฆ่าตัวตายหรือทำฆาตกรรมได้

แนวโน้มของแม่ที่เสี่ยงเป็นโรคจิตหลังคลอดสูง อ่านหน้าถัดไป >>

โรคจิตหลังคลอด

แนวโน้มของแม่ยังสาวจะกลายเป็นเหยื่อของอาการโรคจิตหลังคลอดสูงหาก :

  • ในอดีตเคยเป็นโรคนี้มาก่อนหลังการมีลูกคนแรก
  • มีคนในครอบครัวที่มีอาการโรคจิตหลังคลอดมาก่อน
  • หากก่อนการตั้งครรภ์ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคไบโพล่า
  • ในระหว่างการคลอดบุตรมีภาวะแทรกซ้อนหรือปัญหารุนแรงที่ส่งผลให้ทารกที่คลอดออกมาเสียชีวิต
  • มีการใช้ยาไม่ถูกประเภทหรือการใช้ยาบางชนิดที่มีผลระหว่างตั้งครรภ์

การวินิจฉัยและแนวทางการรักษาภาวะโรคจิตหลังคลอด

หากรู้ตัวว่าแม่หลังคลอดมีอาการประเภทนี้เร็ว การได้รับการรักษาเร็วก็จะมีประสิทธิภาพและฟื้นตัวได้เร็ว ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกรับการรักษาในโรงพยาบาลภายใต้การดูแลของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ด้วยวิธีการรักษาหลายทาง เช่น

  • การรักษาด้วยยา ซึ่งไม่แนะนำในการให้นมลูกใขณะนี้เพื่อความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีของลูกน้อย
  • บำบัดอาการด้วยการปรับสภาพของแม่หลังคลอดเพื่อช่วยในการรับมือกับความรู้สึกผิดหรือความกลัวโดยนักจิตวิทยา
  • การให้ความรักและความสนใจของสามีและสมาชิกในครอบครัวมีบทบาทสำคัญที่จะช่วยให้อาการของแม่หลังคลอดดีจากโรคนี้ขึ้น

โรคจิตหลังคลอด

อย่างไรก็ตาม สำหรับคุณแม่พร้อมมีทั้งจิตใจและร่างกายที่พร้อมสำหรับการคลอดลูกแล้ว โอกาสที่มีความเสี่ยงของการเกิดโรคจิตหลังคลอดนี้จะน้อยมาก ดังนั้นในขณะที่ตั้งท้องคุณแม่ควรทำจิตใจให้มีความสุข หรือหากิจกรรมที่ไม่ทำให้เกิดภาวะซึมเศร้าได้ เช่น การออกกำลังกาย ว่ายน้ำ โยคะสำหรับคนท้อง การเตรียมความพร้อมก่อนลูกน้อยเกิด ซึ่งเป็นการป้องกันวิธีง่าย ๆ เพื่อจะให้เกิดภาวะโรคจิตหลังคลอดของแม่ลูกอ่อนนี้ขึ้นได้


อ้างอิง :

www.womens-education.com

www.coolmom.info

www.medthai.com

บทความอื่นที่น่าสนใจ :

บทความจากพันธมิตร
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย

8 เหตุผลดีๆ ที่ช่วยแม่ “ไม่รู้สึกผิด” เมื่อต้องกลับไปทำงานหลังคลอด

6 ความรู้สึกผิดของแม่หลังคลอดที่เกิดขึ้นได้ในช่วง 3 เดือนแรก

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • อย่าชะล่าใจ โรคจิตหลังคลอด ภาวะหนักกว่าโรคซึมเศร้าที่แม่ลูกอ่อนต้องระวัง!!
แชร์ :
  • แม่ท้องเป็นไบโพล่า หลังคลอดอาการจะยิ่งเเย่

    แม่ท้องเป็นไบโพล่า หลังคลอดอาการจะยิ่งเเย่

  • ร้องไห้หลังคลอด อารมณ์คุณแม่หลังคลอด เป็นซึมเศร้าหลังคลอด เครียด หงุดหงิด

    ร้องไห้หลังคลอด อารมณ์คุณแม่หลังคลอด เป็นซึมเศร้าหลังคลอด เครียด หงุดหงิด

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

  • การกินยาคุม กับ ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน เรื่องสำคัญที่ควรต้องรู้

    การกินยาคุม กับ ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน เรื่องสำคัญที่ควรต้องรู้

  • แม่ท้องเป็นไบโพล่า หลังคลอดอาการจะยิ่งเเย่

    แม่ท้องเป็นไบโพล่า หลังคลอดอาการจะยิ่งเเย่

  • ร้องไห้หลังคลอด อารมณ์คุณแม่หลังคลอด เป็นซึมเศร้าหลังคลอด เครียด หงุดหงิด

    ร้องไห้หลังคลอด อารมณ์คุณแม่หลังคลอด เป็นซึมเศร้าหลังคลอด เครียด หงุดหงิด

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

  • การกินยาคุม กับ ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน เรื่องสำคัญที่ควรต้องรู้

    การกินยาคุม กับ ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน เรื่องสำคัญที่ควรต้องรู้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ