X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เอกซเรย์อันตรายต่อลูกในท้องไหม คนท้องเข้าเครื่องสแกนได้หรือเปล่า??

บทความ 3 นาที
เอกซเรย์อันตรายต่อลูกในท้องไหม คนท้องเข้าเครื่องสแกนได้หรือเปล่า??

คนท้องเอกซเรย์ได้ไหม หมอให้เอกซเรย์แต่กลัวว่าลูกในท้องจะเป็นอันตราย แม่เจ็บทนได้แต่ไม่อยากให้ลูกในท้องเป็นอะไร แบบนี้จะทำยังไงดี

เอกซเรย์อันตรายต่อลูกในท้องไหม

เอกซเรย์อันตรายต่อลูกในท้องไหม คนท้องเอกซเรย์ได้หรือเปล่า หมอให้เอกซเรย์แต่กลัวว่าลูกในท้องจะเป็นอันตราย แม่เจ็บทนได้แต่ไม่อยากให้ลูกในท้องเป็นอะไร แบบนี้จะทำยังไงดี แม่ท้องกังวลมาก เชื่อว่าคุณแม่หลายคนคงกำลังประสบปัญหานี้กันอยู่ใช่ไหมค่ะ และมีคำถามคาใจมากมาย วันนี้เราจะมาตอบคำถามที่คุณแม่สงสัยกันค่ะ

จากเพจ คุยกับหมอแอน ได้อธิบายเกี่ยวกับการเอกซเรย์ (x-ray) ของคนท้องไว้อย่างน่าสนใจว่า การเอกซเรย์อาจทำให้เกิดอันตรายต่อลูกในท้องได้จริงค่ะ แต่ว่าการที่จะทำให้เกิดอันตรายนั้นจะประกอบไปด้วย 2 ปัจจัยด้วยกัน คือ

1.ปริมาณรังสี

รังสีเอกซเรย์ เป็นรังสีที่ใช้ในการวินิจฉัยโรค เกิดจากการที่รังสีเคลื่อนที่ผ่านเข้าไปในวัตถุ แล้วทำให้เกิดประจุไฟฟ้าหรือไอออน ในเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต ซึ่งปริมาณรังสีที่ได้รับอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชีวิตได้ โดยทั่วไป อันตรายจาก x-ray นั้น จะเกิดเมื่อปริมาณรังสีที่ได้รับ มีค่ารวมมากกว่า 5 Rad สำหรับการเอกซเรย์เพื่อการรักษาโดยทั่วไป ค่ารังสีจะไม่สูงมาก โดยมีปริมาณ ดังนี้

  • เอกซเรย์ปอด ค่ารังสีที่ได้รับ คือ 0.00007 Rad
  • เอกซเรย์ฟัน ค่ารังสีที่ได้รับ คือ 0.0001 Rad
  • เมื่อเอกซเรย์แขนขา ค่ารังสีที่ได้รับ คือ 0.001 Rad
  • วิธีเอกซเรย์ช่องท้อง ค่ารังสีที่ได้รับ คือ 0.245 Rad
  • เอกซเรย์กระดูกสันหลังส่วนล่าง ค่ารังสีที่ได้รับ คือ 0.359 Rad
  • ฉีดสีดูการทำงานของระบบไต ค่ารังสีที่ได้รับ คือ 1.398 Rad
  • ตรวจ CT scan ศีรษะ ค่ารังสีที่ได้รับ คือ 0.05 Rad
  • ตรวจ CT scan ช่องอก ค่ารังสีที่ได้รับ คือ 0.1 Rad
  • เมื่อตรวจ CT scan ช่องท้อง ค่ารังสีที่ได้รับ คือ 2.6 Rad
  • เมื่อตรวจ CT scan กระดูกสันหลังส่วนล่าง ค่ารังสีที่ได้รับ คือ 3.5 Rad

2.อายุครรภ์ของคุณแม่

  • หากได้รับรังสีมากๆ (High dose) ในช่วงแรก อาจมีผลให้เกิดการแท้ง หรือทารกเสียชีวิตในครรภ์ได้ หรือถ้าไม่แท้งก็จะไม่มีผลอะไรเลย
  • หากได้รับรังสีมากๆ (High dose) ในช่วง 17 สัปดาห์แรก จะมีผลให้เกิดความพิการแต่กำเนิด ทารกโตช้าในครรภ์ หรือความบกพร่องทางสติปัญญาได้
  • คุณแม่ได้รับรังสีปริมาณน้อยๆจากการ x-ray เพื่อตรวจวินิจฉัยจะไม่เพิ่มความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ค่ะ เพราะว่าจะมีรังสีไปถึงทารกน้อยมาก โดยเฉพาะการ x-ray ตำแหน่งที่ไกลจากบริเวณอุ้งเชิงกราน
เอกซเรย์อันตรายต่อลูกในท้องไหม คนท้องเข้าเครื่องสแกนได้หรือเปล่า??

แม่ท้องต้องรู้ เอกซเรย์อันตรายต่อลูกในท้องไหม

ผลกระทบจากรังสีที่ลูกน้อยจะได้รับ

  • ในช่วงที่เริ่มจะมีการฝังตัวของทารก ปริมาณรังสีขนาด 0.1-0.15 Gy (1 Gy =100 rad) จะทำให้เกิดการแท้ง
  • ในช่วงการตั้งครรภ์ สัปดาห์ที่ 3-7 ปริมาณรังสีขนาด 0.05-0.5 Gy (1 Gy =100 rad) จะทำให้มีความผิดปกติของระบบกระดูก เช่น ขนาดของศีรษะมีขนาดเล็ก
  • เมื่ออยู่ในช่วงตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 8-25 ปริมาณรังสีขนาด 0.05-0.5 Gy (1 Gy =100 rad) จะทำให้เกิดปัญญาอ่อน

สำหรับคุณแม่ที่ต้องผ่านเข้าเครื่องสแกนทั้งสนามบิน ตามรถไฟฟ้าต่างๆ ก็ไม่ต้องกังวลเช่นเดียวกัน เพราะมีค่าพลังงานระดับต่ำมาก ไม่มีผลต่อสุขภาพค่ะ

ดังนั้น เวลาที่คุณแม่ไปหาหมอแล้วคุณหมอแนะนำให้เอกซเรย์ก็ไม่ต้องกังวลนะคะ เพราะการเอกซเรย์เพียงครั้งเดียวไม่ได้เพิ่มความเสี่ยงให้ทารกในครรภ์ค่ะ อีกทั้งเจ้าหน้าที่ก็จะใส่อุปกรณ์ป้องกันรังสีบริเวณท้องให้ด้วยค่ะ แต่คุณแม่ควรบอกคุณหมอว่าตั้งท้อง และสอบถามว่าการเอกซเรย์จะเป็นอันตรายหรือไม่ก่อนทุกครั้ง

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ:

คนท้องหายใจติดขัดจะเป็นอะไรไหม ส่งผลอะไรต่อลูกในท้องหรือเปล่า

คนท้องกินซูชิได้ไหม กินแล้วอันตรายหรือเปล่า กินแล้วส่งผลอย่างไรกับลูกในท้อง

หายสงสัย! คนท้องดื่มเบียร์ ได้มั้ย? เขาว่ากันว่า เบียร์ช่วยล้างไขให้ลูก จริงเหรอ?

บทความจากพันธมิตร
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

Khunsiri

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • เอกซเรย์อันตรายต่อลูกในท้องไหม คนท้องเข้าเครื่องสแกนได้หรือเปล่า??
แชร์ :
  • กินเผ็ดมีผลต่อลูกในท้องไหม คนท้องกินเผ็ดได้ไหม และอันตรายกับลูกหรือเปล่า?

    กินเผ็ดมีผลต่อลูกในท้องไหม คนท้องกินเผ็ดได้ไหม และอันตรายกับลูกหรือเปล่า?

  • กินยาคุมตอนท้อง ท้องแล้วกินยาคุม อันตรายต่อลูกในท้องไหม

    กินยาคุมตอนท้อง ท้องแล้วกินยาคุม อันตรายต่อลูกในท้องไหม

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • กินเผ็ดมีผลต่อลูกในท้องไหม คนท้องกินเผ็ดได้ไหม และอันตรายกับลูกหรือเปล่า?

    กินเผ็ดมีผลต่อลูกในท้องไหม คนท้องกินเผ็ดได้ไหม และอันตรายกับลูกหรือเปล่า?

  • กินยาคุมตอนท้อง ท้องแล้วกินยาคุม อันตรายต่อลูกในท้องไหม

    กินยาคุมตอนท้อง ท้องแล้วกินยาคุม อันตรายต่อลูกในท้องไหม

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ