X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เบาะกันกระแทก ภัยเงียบคร่าชีวิตเด็กทารก

บทความ 3 นาที
เบาะกันกระแทก ภัยเงียบคร่าชีวิตเด็กทารก

จากการศึกษาล่าสุด มีการกล่าวว่า มีเด็กจำนวนไม่น้อยต้องเสียชีวิตจากอันตรายของ เบาะกันกระแทก ที่คุณแม่มักใช้เป็นอุปกรณ์เสริมใช้ป้องกันการตกเตียงหรือป้องกันอวัยวะเข้าไปติดในตัวซี่กรงของเตียงนอน

ถึงแม้ว่า เบาะกันกระแทก นี้จะถูกออกแบบมาให้สร้างความสะดวกสบายและเสริมสร้างความปลอดภัยให้กับลูกน้อยภายในเตียงนอน แต่มันก็มีอันตรายที่แฝงมาด้วยเช่นกัน

มีการเรียกร้อง ให้ยกเลิกการใช้เบาะกันกระแทกนี้ เนื่องจาก การศึกษาล่าสุด ได้ชี้แจงว่าอันตรายของเบาะกันกระแทกนี้มีอยู่มาก ซึ่งการศึกษานี้จัดทำโดยคณะแพทย์ มหาวิทยาลัยวอชิงตัน ที่มีการรายงานถึง จำนวนเด็กที่เสียชีวิตจากเบาะกันกระแทกนี้มีมากถึง 23 รายในช่วงปี 2006 – 2012

Dr. Bradley Thach ผู้อำนวยการอาวุโสแห่งมหาวิทยาลัยนี้ กล่าวว่า “เบาะกันกระแทกนี้สามารถก่อให้เกิดอันตรายแก่เด็กทารกได้ และจำนวนกรณีที่เด็กเสียชีวิตก็เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆเช่นกัน” จากการรายงานของแหล่งข่าวอื่นในสหรัฐอเมริกา กล่าวว่า พบเด็กเสียชีวิตมากถึง 32 ราย ในปี 2008 – 2011

สาเหตุจากอันตรายของเบาะกันกระแทกนี้ คือ การทำให้เด็กขาดอากาศหายใจและเลือดไม่ไหลเวียน

การเกิดขึ้นของอันตราย คือ เมื่อเด็กนอนหลับ เด็กอาจจะหันหน้าหรือคว่ำหน้าทับเบาะกันกระแทกนี้จนขาดอากาศหายใจ หรือ ศีรษะอาจไปติดในช่องระหว่างที่ติดตั้งเบาะกันกระแทกกับซี่กรงของเตียงนอนได้ มากกว่านั้น อาจเกิดอุบัติเหตุจากสายรัดหรือเชือกที่ผูกเบาะกันกระแทกเข้ากับซี่กรงของเตียง ซึ่งจะทำให้เด็กถูกรัดจนเลือดไม่สามารถไหลเวียนได้ เป็นสาเหตุให้เสียชีวิต

Canadian Paediatric Society ออกมาเตือนถึงคุณพ่อคุณแม่ทั้งหลายว่า ไม่ควรนำเบาะกันกระแทกนี้ติดตั้งในเตียงนอนของลูกน้อย เนื่องจากอันตรายที่กล่าวมา รวมถึงอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ผ้าห่มนุ่มๆ ตุ๊กตา หรือหมอนอื่นๆ ที่ไม่จำเป็น

การเสียชีวิตของทารกด้วยเหตุเหล่านี้ เราสามารถป้องกันได้

จากการรายงาน จำนวนเด็กที่เสียชีวิต 32 ราย จาก 48 ราย ในปี 1985 – 2012 นั้น เราสามารถป้องกันได้ ด้วยการไม่ใช้เบาะกันกระแทก

อุปกรณ์เหล่านี้อาจจะถูกห้ามผลิตหรือจำหน่าย เนื่องจากอันตรายที่อาจเกิดขึ้น อีกทั้งหลายปีที่ผ่านมา ไม่มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบดีไซน์ให้เป็นไปในทางที่เหมาะสม เราจะเห็นได้ว่า คุณพ่อคุณแม่ส่วนมากนิยมซื้อเบาะกันกระแทกมาใช้งาน เพราะฉะนั้นเป็นเรื่องที่สำคัญเป็นอย่างมากที่เราควรให้ความรู้กับคุณพ่อคุณแม่และเตือนภัยถึง อันตรายของเบาะกันกระแทกนี้

ในรัฐแมรี่แลนด์และชิคาโก เบาะกันกระแทกนี้ได้ถูกยกเลิก ห้ามผลิตและจำหน่ายเป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยมีข้อความเตือนภัยว่า ไม่ควรมีอุปกรณ์นุ่มนิ่มใดๆ ติดตั้งในเตียงของลูกน้อย  ทางที่ดีและเพื่อความปลอดภัยที่สุด คุณพ่อคุณแม่ควรจัดเตียงลูกให้มีอุปกรณ์น้อยชิ้นที่สุด หรือใช้ถุงนอนที่ปลอดภัยและพอดีกับตัวเด็กเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง

ที่มาจาก ph.theasianparent.com

บทความอื่นๆที่น่าสนใจ

ระวัง 16 จุดอันตรายในบ้าน ทำลูกเกิดอุบัติเหตุถึงตาย !

ครึ่งหนึ่งของเด็กทารกเสียชีวิตเฉียบพลัน (SIDS) มาจากการนอนบนเตียงที่ไม่ปลอดภัย

บทความจากพันธมิตร
51Talk แพลตฟอร์มเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ สำหรับเด็กอายุ 3-15 ปี ถือฤกษ์ดีประกาศเปิดสำนักงานในกรุงเทพฯ เพื่อเดินหน้าพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในประเทศไทย
51Talk แพลตฟอร์มเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ สำหรับเด็กอายุ 3-15 ปี ถือฤกษ์ดีประกาศเปิดสำนักงานในกรุงเทพฯ เพื่อเดินหน้าพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในประเทศไทย
แชร์กิจกรรมบำบัดเด็กสมาธิสั้น ตัวช่วยดี ๆ เพิ่มสมาธิให้ลูกรักมากขึ้น!
แชร์กิจกรรมบำบัดเด็กสมาธิสั้น ตัวช่วยดี ๆ เพิ่มสมาธิให้ลูกรักมากขึ้น!
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • เบาะกันกระแทก ภัยเงียบคร่าชีวิตเด็กทารก
แชร์ :
  • โรคใหลตายในทารก ป้องกันได้อย่างไร? นอนท่าไหนที่ปลอดภัยสำหรับทารก

    โรคใหลตายในทารก ป้องกันได้อย่างไร? นอนท่าไหนที่ปลอดภัยสำหรับทารก

  • เฝ้าระวัง! โรคปอดอักเสบ ภัยเงียบคร่าชีวิตเด็กอันดับ 1

    เฝ้าระวัง! โรคปอดอักเสบ ภัยเงียบคร่าชีวิตเด็กอันดับ 1

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • โรคใหลตายในทารก ป้องกันได้อย่างไร? นอนท่าไหนที่ปลอดภัยสำหรับทารก

    โรคใหลตายในทารก ป้องกันได้อย่างไร? นอนท่าไหนที่ปลอดภัยสำหรับทารก

  • เฝ้าระวัง! โรคปอดอักเสบ ภัยเงียบคร่าชีวิตเด็กอันดับ 1

    เฝ้าระวัง! โรคปอดอักเสบ ภัยเงียบคร่าชีวิตเด็กอันดับ 1

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว