X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 6 เดือน

บทความ 3 นาที
เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 6 เดือน

เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลููกอายุ 6 เดือน มีพัฒนาการที่ต่างจากก่อนหน้านี้ยังไง อะไรที่เหมาะสมกับเด็กวัยนี้บ้าง ไม่ใช่เรื่องยากเกินไปที่พ่อแม่จะเรียนรู้ค่ะ

เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 6 เดือน

เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลููกอายุ 6 เดือน พัฒนาการเด่นในเดือนนี้คงไม่พ้นการเริ่มอาหารเสริมนะคะ มาดูกันค่ะว่ามีเรื่องอะไรที่ควรจะต้องรู้อีกบ้าง

สัปดาห์ที่ 21

  • ลูกเริ่มบังคับกล้ามเนื้อคอเเละหัวของตัวเองได้ค่อนข้างมากเเล้ว
  • หากอุ้มพาดบ่าลูกจะชันคอได้อย่างอิสระ ไม่คอพับคออ่อนเเล้ว
  • ในสัปดาห์นี้ลูกจะนั่งได้ด้วยตัวเองเเล้ว
  • พลิกหงาย พลิกคว่ำ ได้คล่องมากขึ้น
  • ลูกจะกินมากขึ้น เเต่จะทิ้งห่างระหว่างมื้อมากขึ้นด้วย หรือจะกินนมทุก 3-5 ชั่วโมง
  • ลูกจะรู้ถึงความต่างระหว่างการคุณเเม่อยู่เเละไม่อยู่ หากไม่เห็นคุณเเม่เเสดงว่าคุณเเม่ไม่อยู่นั่นเองค่ะ
  • ลูกเริ่มที่จะเล่นของเล่นใหญ่ๆ ด้วยตัวเองเเล้ว ทั้งการเขย่า ขว้างไป เเละเอาเข้าปาก

สัปดาห์ที่ 22

  • การได้ยินเเละการมองเห็นของลูกอยู่ในช่วงที่กำลังพัฒนาให้ทำงานได้เต็มที่
  • ลูกเริ่มที่จะรู้จักชื่อของตัวเอง เเละหันตามเมื่อได้ยินคุณเเม่เรียกชื่อของเขาค่ะ
  • ลูกมีการพัฒนาด้านอารมณ์ที่คุณพ่อคุณเเม่จะเห็นได้ชัดขึ้น อย่างอารมณ์ขัน ความวิตกกังวล ไม่ชอบ เเละมีการเเสดงออกที่บอกว่าหนูเบื่อเเล้ว
  • ลูกจะเริ่มมีอาการกลัวคนเเปลกหน้าบ้างเเล้วค่ะ เวลาที่คนอื่นมาเยี่ยมให้คุณเเม่บอกล่วงหน้าเลยว่าลูกต้องการการปรับตัวก่อน ไม่เช่นนั้นจะงอแงได้ค่ะ

สัปดาห์ที่ 23

  • เด็กวัยนี้การต่อบล็อกเป็นของเล่นที่เหมาะกับวัยของเขาค่ะ เลือกบล็อกไม่ใหญ่ไม่หนักเเละเหมาะมือสำหรับการจับนะคะ
  • พัฒนาการที่น่าปวดหัวอย่างปล่อยให้ของตกลงมา ขว้างหรือปาของอาจจะทำให้คุณพ่อคุณเเม่ลำบากใจไปบ้าง
  • ลูกชอบฟังเสียงต่างๆ อย่างเสียงของเล่น เสียงจากคุณพ่อคุณเเม่ เสียงนกร้อง เสียงน้ำไหล เเละเสียงของตกค่ะ

สัปดาห์ที่ 24

  • ลูกเริ่มเข้าใจเรื่องของการกระทำเเละผลลัพที่ตามมาบ้างเเล้วค่ะ
  • นั่นหมายความว่า ลูกชอบที่จะคว้าจับ ตี ทุบ เเละโยนค่ะ
  • คุณพ่อคุณเเม่ควรจะจัดสภาพเเวดล้อมให้เหมาะกับลูกโดยการเก็บของที่เเตกหัก ของอันตราย ไว้ให้ไกลมือเด็กๆ ด้วยนะคะ
  • ในช่วงนี้ลูกชอบที่จะเรียนรู้เรื่องสีนะคะ คุณเเม่ควรหาของที่มีสีหลากหลายให้ลูกได้เรียนรู้ค่ะ

ที่มา Thebump

บทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลููกอายุ 5 เดือน

เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลููกอายุ 4 เดือน

parenttown

บทความจากพันธมิตร
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 6 เดือน
แชร์ :
  • เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 2 เดือน

    เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 2 เดือน

  • เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 3 เดือน

    เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 3 เดือน

  • เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 2 เดือน

    เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 2 เดือน

  • เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 3 เดือน

    เกิดอะไรขึ้นบ้าง เมื่อลูกอายุ 3 เดือน

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ