X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

หูดข้าวสุก ตุ่มเนื้อเล็ก ๆ สีเนื้อ ตามตัวลูก อันตรายมากน้อยแค่ไหน

บทความ 5 นาที
หูดข้าวสุก ตุ่มเนื้อเล็ก ๆ สีเนื้อ ตามตัวลูก อันตรายมากน้อยแค่ไหน

รู้จักโรคหูดข้าวสุกในเด็ก ตุ่มเล็กๆ สีเนื้อ บนขา แขนลูก ตรงกลางมีจุดบุ๋มลงไปคล้ายสะดือ โรคนี้จะอันตรายกับลูกไหม ตามไปไขคำตอบกัน

หูดข้าวสุก ตุ่มเล็ก ๆ สีเนื้อ ตามตัวลูก อันตรายแค่ไหน

หูดข้าวสุก ตุ่มเล็กๆ สีเนื้อ ตามตัวลูก อันตรายแค่ไหน น้องออย ( นามสมมติ ) อายุ 8 ปี มีตุ่มเล็ก ๆ สีเนื้อ ตรงกลางมีจุด บุ๋มลงไป คล้ายสะดือ ขึ้นที่บริเวณ แขน และ ขา เมื่อมาพบคุณหมอ ได้รับการตรวจ อย่างละเอียดแล้ว ก็ทราบว่า น้องออยเป็น หูดข้าวสุก นั่นเองค่ะ

 

หูดข้าวสุก

หูด ข้าวสุก

รู้จักโรคหูดข้าวสุก ในเด็ก

หูดข้าวสุก คืออะไร?

หูดข้าวสุก คือ โรคผิวหนัง ที่เกิดจากการติดเชื้อ ไวรัสชื่อ Molluscum contagiosum พบมากในเด็กวัย 1 – 10 ปี โรคหูดข้าวสุก สามารถติดต่อได้ อย่างง่ายดายในเด็ก โดยการสัมผัส กับรอยโรคของผู้ป่วย หรือ ใช้สิ่งของ ร่วมกับผู้ที่มีรอยโรคหูดข้าวสุก

 

หูดข้าวสุก

หูดข้าว สุก ตุ่มเล็ก ๆ

ลักษณะอาการ ของหูดข้าวสุก เป็นอย่างไร ?

ลักษณะของหูดข้าวสุก เป็นตุ่มเนื้อขนาดเล็ก มีสีเดียวกับผิวหนัง รูปโดม มีลักษณะบุ๋มเป็นหลุม ตรงกลาง พบบ่อยบริเวณลำตัว หน้าอก หลัง แขนขา บางครั้ง อาจมีอาการบวมแดง อักเสบร่วมด้วย หูดข้าวสุกมักจะหายได้เองภายในเวลา 2 – 3 เดือน มีรายงานผู้ป่วยเด็กบางราย เป็นได้นานถึง 9 เดือนหากไม่ได้รับการรักษา

หูดข้าวสุก

หูดข้าว สุก ตุ่มเนื้อ

การรักษาหูดข้าวสุกทำได้อย่างไร?

คุณหมอ สามารถให้การรักษาโรคนี้ ได้หลายวิธีคือ การกำจัดรอย โรคด้วยการขูด การจี้เย็น การจี้ไฟฟ้า พ่นไนโตรเจนเหลว โดยคุณหมอ อาจจะนัดมา ให้การรักษาซ้ำทุก 2 – 3 สัปดาห์ จนรอยโรคหายทุกรอย และ การทายา เพื่อช่วยรอยโรคหายเร็วขึ้น

หูดข้าวสุก

หูด ข้าวสุก

หากลูกเป็นหูดข้าวสุก คุณพ่อ คุณแม่ควรทำอย่างไร ?

เมื่อทราบจากคุณหมอว่า ลูกเป็นหูดข้าวสุก คุณพ่อ คุณแม่ ควรสอนให้ลูก ดูแลตนเองโดย ไม่แกะ เกาตุ่มรอยโรค เพื่อป้องกัน การติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน และ ลดการพาเชื้อไปติดบริเวณอื่น ของร่างกาย , ให้ลูก ใส่เสื้อผ้าที่ ปกคลุมตุ่มรอยโรค เพื่อป้องกันการเกาของลูก และ ยังช่วยป้องกัน การสัมผัสรอยโรคไปสู่ผู้อื่น , ไม่ลงสระว่ายน้ำ ขณะทีเป็นโรค , ไม่ใช้สิ่งของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น นอกจากนี้ หากสัมผัสรอยโรคของตัวเอง ควรให้ลูกล้างมือ ด้วยสบู่ล้างมือ หรือ ใช้เป็นแอลกอฮอล์ ชนิดเจลทำความสะอาดมือ

หากพบว่ารอยโรค มีหนอง. ปวด บวม แดงร้อน ควรรีบไปพบคุณหมอ เพื่อหาสาเหตุ จากการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน และ รับการรักษาอย่างถูกต้องนะคะ

 

การป้องกันหูดข้าวสุกทำได้อย่างไร?

การป้องกัน การติดเชื้อโรคหูดข้าวสุก ทำได้โดย การหลีกเลี่ยง การสัมผัสรอยโรคของผู้ป่วย , ล้างมือให้สะอาด , ไม่ใช้สิ่งของส่วนตัว ร่วมกับผู้อื่น, หมั่นทำความสะอาดสิ่งของ เครื่องใช้หรือ ของเล่นที่เด็กใช้ร่วมกัน ซึ่งก็คือ การรักษาความสะอาด ตามสุขอนามัยพื้นฐาน ก็จะลดโอกาส ในการเป็นโรคลงได้

โดยสรุป หูดข้าวสุกในเด็ก เป็นโรคที่ไม่ได้มีอันตรายร้ายแรง ติดต่อได้ง่าย สามารถหายได้เอง ในเวลาเป็นเดือน แต่หากได้รับการรักษาก็จะหายได้เร็วขึ้นค่ะ

บทความที่เกี่ยวข้อง : ร้อนแล้วจ้า หูดข้าวสุกเริ่มระบาด แม่ๆ ระวังลูกด้วย

เครดิตภาพ : wikipedia.org

 

บทความจากพันธมิตร
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
หยุดความเชื่อผิดๆ : ผิวเด็กไม่ได้ฟื้นฟูได้ไว เป็นแผลห้ามปล่อยไว้ให้หายเอง
หยุดความเชื่อผิดๆ : ผิวเด็กไม่ได้ฟื้นฟูได้ไว เป็นแผลห้ามปล่อยไว้ให้หายเอง
จัดฟันแบบใส สร้างโลกสดใสให้เด็ก ๆ มีรอยยิ้มสวยมั่นใจได้มากกว่าที่คิด
จัดฟันแบบใส สร้างโลกสดใสให้เด็ก ๆ มีรอยยิ้มสวยมั่นใจได้มากกว่าที่คิด

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

นมแช่แข็ง 100 สิ่งแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 46 ใส่กระเป๋าเก็บความเย็นแช่ซ้ำได้ไหม

โรงเรียนนี้ที่แม่เลือก: โรงเรียนอนุบาลเปล่งประสิทธิ์สายลม รีวิวโดยคุณแม่เปิ้ล-น้องข้าวปั้น-น้องข้าวปุ้น (School Hit)

100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 27 เวลามีเพศสัมพันธ์แล้วรู้สึกเจ็บมาก เป็นเพราะ แผลฝีเย็บฉีกใช่ไหม ?

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

รศ. พญ. รวีรัตน์ สิชฌรังษี

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • หูดข้าวสุก ตุ่มเนื้อเล็ก ๆ สีเนื้อ ตามตัวลูก อันตรายมากน้อยแค่ไหน
แชร์ :
  • ร้อนแล้วจ้า หูดข้าวสุกเริ่มระบาด แม่ๆ ระวังลูกด้วย

    ร้อนแล้วจ้า หูดข้าวสุกเริ่มระบาด แม่ๆ ระวังลูกด้วย

  • 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 95 ลิ่มเลือดอุดตันอันตรายของแม่ท้อง

    100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 95 ลิ่มเลือดอุดตันอันตรายของแม่ท้อง

  • ร้อนแล้วจ้า หูดข้าวสุกเริ่มระบาด แม่ๆ ระวังลูกด้วย

    ร้อนแล้วจ้า หูดข้าวสุกเริ่มระบาด แม่ๆ ระวังลูกด้วย

  • 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 95 ลิ่มเลือดอุดตันอันตรายของแม่ท้อง

    100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 95 ลิ่มเลือดอุดตันอันตรายของแม่ท้อง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ