X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

8 สาเหตุ หลัง ทารกเสียชีวิตในครรภ์ ความเสี่ยงที่แม่ ๆ ต้องระวัง

บทความ 3 นาที
8 สาเหตุ หลัง ทารกเสียชีวิตในครรภ์ ความเสี่ยงที่แม่ ๆ ต้องระวัง

คุณหมอเผยสาเหตุที่พบบ่อย ความเสี่ยงต่างๆ ที่แม่ท้องต้องระวัง และหมั่นมาตรวจครรภ์เพื่อป้องกัน 7 สาเหตุหลัก ทารกเสียชีวิตในครรภ์

การตั้งครรรภ์ปกติ ทารกจำเป็นต้องพึ่งพิงมารดาในการพัฒนาอวัยวะต่างๆ รวมทั้งการดำรงชีวิตในครรภ์ ทารกต้องได้รับสารอาหาร ออกซิเจนจากมารดาและขับถ่ายของเสียรวมทั้งกาซคาร์บอนไดออกไซด์กลับเข้าสู่กระแสเลือดของมารดาผ่านทางรกเป็นสำคัญ นอกจากนี้มดลูกยังทำหน้าที่เสมือนโล่ห์กำบัง คอยป้องกันอันตรายจากภายนอกด้วย หากการทำงานเหล่านี้ผิดปกติก็อาจเป็นสาเหตุให้ ทารกเสียชีวิตในท้อง ได้

 

สาเหตุที่พบบ่อย ทารกเสียชีวิตในครรภ์

ทารกเสียชีวิตในท้อง-01

ทารกเสียชีวิตในท้อง-01

 

1.ภาวะทารกบวมน้ำ

ภาวะที่ทารกมีหัวใจล้มเหลว ทำให้มีการคั่งของสารน้ำในช่องท้องและช่องปอด มีหัวใจโต ซึ่งเกิดได้จากหลายเหตุ เช่น ภาวะทารกซีดจากโรคเลือดธาลัสซีเมีย หัวใจทารกเต้นผิดจังหวะชนิดรุนแรง ความพิการของทารกบางชนิด เช่น ถุงน้ำรอบคอทารก เป็นต้นทารกบวมน้ำ : คือภาวะที่ตรวจพบทารกมีของเหลวคั่งผิดปกติในช่องต่างๆของร่างกายมากกว่า 2 ที่ขึ้นไป เช่น น้ำในช่องท้อง น้ำในช่องปอด น้ำในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ หรือบวมน้ำทั้งตัว

 

2.ภาวะเบาหวานของมารดา

ในรายที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดี หรือมีประวัติเป็นโรคเบาหวานมานาน จะเพิ่มโอกาสทารกเสียชีวิตได้โดยไม่ทราบสาเหตุ โดยเฉพาะเมื่ออายุครรภ์ใกล้คลอด

 

3.ความพิการแต่กำเนิดของทารก

มีทั้งพิการที่เป็นกลุ่มอาการ สัมพันธ์กับโครโมโซมผิดปกติ หรือ พิการที่แยกเดี่ยวๆ ไม่มีโครโมโซมผิดปกติก็ได้

 

4.การติดเชื้อที่เฉพาะบางชนิดในมารดา

เชื้อดังกล่าวสามารถผ่านรกและก่อให้เกิดโรคในทารก นำไปสู่การเสียชีวิตได้ เช่น เชื้อกามโรค (ซิฟิลิส) จากเพศสัมพันธ์ เชื้อลีสทีเรียจากอาหารประเภทเนยสด ชีสสด เป็นต้น

ทารกเสียชีวิตในท้อง-02

ทารกเสียชีวิตในท้อง-02

 

5.ครรภ์แฝด

ครรภ์แฝด เพิ่มอุบัติการตายของทารกในครรภ์ ทั้งแบบไม่ทราบสาเหตุ และทราบสาเหตุ เช่น แฝดถุงน้ำคร่ำเดี่ยว แฝดตัวติดกัน แฝดที่ถ่ายเลือดให้กันในครรภ์

 

6.การไม่เข้ากันของหมู่เลือด

พบได้น้อยในประเทศไทย เฉพาะมารดาที่มีหมู่เลือดพิเศษ เป็นหมู่ Rh negative ซึ่งหากสามีมีหมู่บวก ทารกในครรภ์จะมีโอกาสมีเลือดปนเปื้อนกับมารดาทำให้มีการสร้างภูมิคุ้มกันต่อต้านหมู่เลือดไว้ เมื่อตั้งครรภ์ครั้งถัดไป จึงมีอันตรายเกิดขึ้นกับทารกในครรภ์จากมีการจับกันของสารภูมิคุ้มต่อต้านหมู่เลือดกับเม็ดเลือดแดงของทารกนั่นเอง

 

7.ทารกเสียชีวิตในท้อง มีสาเหตุอื่นๆ

ทารกเสียชีวิต สาเหตุอื่นๆ ก็เช่น มารดาได้รับอุบัติเหตุ ตกเลือด สายสะดือผิดปกติ เนื้องอกของรก การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ การที่แม่ท้องนอกมดลูกนั้นเอง การมีความเครียดระหว่างท้อง มีความวิตกกังวล หรือบ้างคร้งสาเหตุมาจากการที่แม่ ๆ พักผ่อนไม่เพียงพอ เพราะการนอนจะทำให้เรารู้สึกผ่อนคลายได้หรือแม้แต่ช่วยให้เกิดอุบัติเหตุ น้อยลงอีกด้วยนะคะ แต่อยางไรก็ตามคุณแม่ ที่กำลังตั่งครรภ์ควร ระวังตัวเองมากเป็นพิเศษ เพื่อป้องกัน หรือ ปกป้องลูกน้อยในครรภ์ ของแม่นั้นเองเหละค่ะ

 

ทารกเสียชีวิตในท้อง-03

ทารกเสียชีวิตในท้อง-03

 8. ครรภ์เป็นพิษ

ครรภ์เป็นพษเกิดจาก ภาวะครรภ์เป็นพิษ คือภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะช่วงตั้งครรภ์ หรือช่วงหลังคลอด สาเหตุการเกิดครรภ์เป็นพิษนั้นยังไม่แน่ชัด โดยมีข้อสมมติฐานต่าง ๆ ที่ทางแพทย์คาดเดา เช่น เกิดจากรกทำงานผิดปกติทำให้มีสารบางชนิดกระตุ้นให้หลอดเลือดหดตัวอย่างรุนแรง ส่งผลให้เกิดความดันโลหิตสูงกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอทสรุปว่า การตายของทารกในครรภ์มีได้หลายสาเหตุทั้งที่ป้องกันได้ และ ที่ป้องกันไม่ได้ การไปฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ เอาใจใส่ในการดูแลสุขภาพ และ ปฎิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ อย่างเคร่งครัด จะช่วยลดความเสี่ยงของทารกเสียชีวิตได้ความดันสูง ครรภ์เป็นพิษ มีภาวะทารกโตช้าในครรภ์ ภาวะเบาหวาน โดยเฉพาะที่คุมไม่ดี อาจเกิดภาวะทารกเสียชีวิตในครรภ์โดยไม่มีสาเหตุอื่นเลยในช่วงท้ายของการตั้งครรภ์ อายุครรภ์เกินกำหนด เนื่องจากรกเสื่อม หรือ น้ำคร่ำน้อยเกิดการกดทับสายสะดือ หรือ ทารกมีภาวะขาดออกซิเจน

theAsianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพ และ สังคมคุณแม่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ และ เอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น theAsianparent Thailand ที่ติดตามการตั้งครรภ์ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งาน เพื่อติดตามพัฒนาการทารกตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุดและผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์และสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่และเด็ก โภชนาการแม่ และ เด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว 

การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และจิตวิทยาเด็ก theAsianparent Thailand เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

 

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

ที่มาจาก https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/index.php?option=com_content&view=article&id=1089:fetal-death&catid=38&Itemid=48

theAsianparent Community

บทความจากพันธมิตร
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

ผศ.นพ.เมธาพันธ์ กิจพรธีรานันท์

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • 8 สาเหตุ หลัง ทารกเสียชีวิตในครรภ์ ความเสี่ยงที่แม่ ๆ ต้องระวัง
แชร์ :
  • สัญญาณไม่ปลอดภัย ทารกอาจเสียชีวิตในครรภ์

    สัญญาณไม่ปลอดภัย ทารกอาจเสียชีวิตในครรภ์

  • 6 ลักษณะแม่ท้องที่ต้องระวังทารกตายในครรภ์!!

    6 ลักษณะแม่ท้องที่ต้องระวังทารกตายในครรภ์!!

  • เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

    เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

  • เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

    เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

  • สัญญาณไม่ปลอดภัย ทารกอาจเสียชีวิตในครรภ์

    สัญญาณไม่ปลอดภัย ทารกอาจเสียชีวิตในครรภ์

  • 6 ลักษณะแม่ท้องที่ต้องระวังทารกตายในครรภ์!!

    6 ลักษณะแม่ท้องที่ต้องระวังทารกตายในครรภ์!!

  • เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

    เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

  • เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

    เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ