X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกในท้องกินอย่างไร จะรู้ได้ไงว่าทารกในครรภ์กินอิ่ม ไม่ขาดสารอาหาร?

บทความ 3 นาที
ลูกในท้องกินอย่างไร จะรู้ได้ไงว่าทารกในครรภ์กินอิ่ม ไม่ขาดสารอาหาร?

จะรู้ได้ไงว่าลูกในท้องได้รับสารอาหารเพียงพอ ไม่ขาดสารอาหารจนคลอดมาไม่สมบูรณ์

04ลูกในท้องกินอย่างไร

ลูกในท้องกินอย่างไร จะรู้ได้ไงว่าทารกในครรภ์กินอิ่ม : ในช่วงที่อยู่ในครรภ์มารดานั้น ลูกน้อยจะได้รับสารอาหารผ่านทางสายสะดือที่เชื่อมระหว่างแม่กับลูก โดยมีรกเป็นตัวลำเลียงอาหารและออกซิเจนไปยังลูกในท้อง และในทางกลับกัน เมื่อลูกในท้องได้รับสารอาหารแล้ว ก็จะเกิดของเสียตามมา ซึ่งของเสียนั้นก็จะผ่านจากเด็ก กลับออกมาทางรกนั่นเองครับ

ผลกระทบจากการขาดสารอาหาร

สำหรับคุณแม่ที่ก่อนตั้งครรภ์เป็นคนกินน้อย และไม่ค่อยกินบ่อย เมื่อตั้งครรภ์แล้ว ควรบำรุงให้มากกว่าเดิมนะครับ เพราะหากคุณแม่ขาดสารอาหาร ลูกในท้องก็จะได้รับผลกระทบไปด้วย เช่น

  • มีโอกาสคลอดก่อนกำหนด หรือเสี่ยงต่อการแท้งได้
  • ทารกมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
  • รกมีขนาดเล็กและเติบโตได้ไม่ดีพอ เมื่อรกทำหน้าที่ได้ไม่ดี ก็มีโอกาสที่ทารกอาจเสียชีวิตในครรภ์ได้

อาหารบำรุงครรภ์

เพราะอาหารที่คุณแม่ทานตอนท้อง ส่งผลโดยตรงกับลูกในครรภ์ เรามาดูกันว่า อาหารบำรุงครรภ์ ที่คุณแม่ควรกิน มีอะไรบ้าง

1. กินโปรตีนเสริมสร้างอวัยวะและการเจริญเติบโตของทารก

อาหารที่ควรกิน ได้แก่เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน เนื้อปลา เป็ด ไก่ ไข่ นม ถั่ว เต้าหู้ โดยควบคุมให้อยู่ประมาณ 71 กรัมต่อวัน

2. กินวิตามินและโฟเลต

  • โฟเลต สร้างระบบประสาทส่วนกลางของทารก ควรรับประทานโฟเลตก่อนตั้งครรภ์อย่างน้อย 3 เดือน และทานต่อเนื่องระหว่างตั้งครรภ์ สำหรับอาหารที่มีโฟเลตสูง ได้แก่ ผักใบเขียว ไข่ เนื้อสัตว์ ผักโขม ถั่วเขียว ถั่วลิสง ส้ม
  • ธาตุเหล็ก ในช่วงไตรมาสสองและสาม ทารกจะดึงเอาธาตุเหล็กในเลือดของแม่ไปสร้างเม็ดเลือดแดงของตัวเอง ส่วนตัวแม่ท้องเองก็ต้องเตรียมไว้สำหรับการคลอดและระยะหลังคลอด สำหรับธาตุเหล็กพบได้ใน เนื้อสัตว์ ตับ ไข่แดง ผักใบเขียว ผักโขม สัตว์ปีก
  • แคลเซียม จำเป็นในการสร้างกระดูกและฟันของลูกน้อย ต้องการมากถึงวันละ 1,000 มิลลิกรัม มีอยู่ในนม เนย โยเกิร์ต ซีเรียล ชีส แซลมอน ผักโขม น้ำผลไม้ งาดำ เต้าหู้ ผลิตภัณฑ์จากถั่ว ปลาตัวเล็กที่ทานได้ทั้งตัว และผักใบเขียว เพื่อให้ร่างกายดูดซึมแคลเซียมได้ดี ต้องมีวิตามินดีเพิ่ม ซึ่งจะได้จาก แสงแดด ตับ ไข่แดง ปลาทะเล นม น้ำผลไม้
  • ไอโอดีน จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองของทารก พบมากในอาหารทะเล เช่น กุ้ง หอย สาหร่าย

3. ดื่มน้ำมาก ๆ

แม่ท้องควรดื่มน้ำประมาณ 8-12 แก้วต่อวัน เพราะจะช่วยป้องกันอาการต่าง ๆ ขณะตั้งครรภ์ รวมทั้งความไม่สบายตัวที่มักเกิดขึ้นกับแม่ท้องได้

จะรู้ได้อย่างไรว่าทารกในครรภ์สมบูรณ์ดีหรือไม่

จะรู้ได้ไงว่าทารกในครรภ์กินอิ่ม

นอกจากข้อสังเกตเบื้องต้นอย่างเช่น ความสอดคล้องระหว่างขนาดท้องกับอายุครรภ์, น้ำหนักที่ขึ้นในช่วงตั้งครรภ์แล้ว การที่จะรู้ว่าทารกในครรภ์สมบูรณ์ดีหรือไม่ สามารถตรวจได้ตั้งแต่เริ่มรู้ว่าตั้งครรภ์ เมื่อไปฝากครรภ์ คุณหมอก็จะตรวจเลือดและปัสสาวะ เพื่อดูความพร้อมและสุขภาพของแม่ท้องและนัดติดตามดูการเจริญเติมโตของทารกในครรภ์เป็นระยะ ๆ ซึ่งการตรวจสุขภาพของทารกในครรภ์นั้น สามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

  1. การตรวจอัลตราซาวด์
  2. ตรวจจากการดิ้นของทารก
  3. การวัดความสูงยอดมดลูก
  4. การนำเซลล์ของทารกในครรภ์มาตรวจหาโครโมโซม หรือดีเอ็นเอ
  5. การตรวจอัตราการเต้นของหัวใจทารก

อย่างไรก็ตาม แม่ท้องควรใส่ใจสุขภาพ หมั่นสังเกตอาการผิดปกติต่าง ๆ นับลูกดิ้น กินอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน จะได้ช่วยลดปัญหาและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ รวมทั้งช่วยให้คุณแม่และลูกในท้องมีสุขภาพที่ดี คลอดออกมาปลอดภัย สมบูรณ์ แข็งแรงครับ

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

บทความจากพันธมิตร
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?

ตารางน้ำหนักและขนาดของทารกในครรภ์ ที่จะบอกว่าลูกในท้องแข็งแรงดีแค่ไหน

6 อาการใกล้คลอด เตรียมสตาร์ทรถไปโรงพยาบาลด่วน

ชีวิตในตู้อบ กว่าจะโตมาจนถึงวันนี้ รู้ไหม…หนูต้องเจออะไรบ้าง

parenttown

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

P.Veerasedtakul

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ลูกในท้องกินอย่างไร จะรู้ได้ไงว่าทารกในครรภ์กินอิ่ม ไม่ขาดสารอาหาร?
แชร์ :
  • 5 วิธีเช็กความสมบูรณ์ของลูกในท้อง

    5 วิธีเช็กความสมบูรณ์ของลูกในท้อง

  • จะรู้ได้ไงว่าลูกอิ่ม กินนมแม่พอหรือไม่พอ คุณแม่เช็คได้นะ

    จะรู้ได้ไงว่าลูกอิ่ม กินนมแม่พอหรือไม่พอ คุณแม่เช็คได้นะ

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • 5 วิธีเช็กความสมบูรณ์ของลูกในท้อง

    5 วิธีเช็กความสมบูรณ์ของลูกในท้อง

  • จะรู้ได้ไงว่าลูกอิ่ม กินนมแม่พอหรือไม่พอ คุณแม่เช็คได้นะ

    จะรู้ได้ไงว่าลูกอิ่ม กินนมแม่พอหรือไม่พอ คุณแม่เช็คได้นะ

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว