TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกเริ่มโตแล้ว จะดื่มน้ำได้หรือยังนะ

บทความ 3 นาที
ลูกเริ่มโตแล้ว จะดื่มน้ำได้หรือยังนะ

เพราะรู้แต่ว่าให้ลูกดื่มน้ำก่อนวัยอันควรนั้นสามารถส่งผลเสียได้ แต่ถ้าลูกโตแล้วละ ทำได้หรือไม่อย่างไร

เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า เด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6 เดือนนั้นไม่จำเป็นต้องดื่มน้ำ เพราะนมแม่นั้นมีส่วนผสมของน้ำมากถึง 80 เปอร์เซ็นกันอยู่แล้ว และการให้เด็กที่ยังไม่ถึงวัยดื่มน้ำเยอะเกินไปละก็ ย่อมส่งผลเสียมากมายโดยที่คุณแม่อาจมองข้ามไปนั่นคือ

ให้ลูกดื่มน้ำ

1. การให้ลูกดื่มน้ำ อาจส่งผลให้กระเพาะอาหารของลูกเต็มเร็ว ส่งผลให้ลูกน้ำหนักขึ้นช้า และกินนมแม่ได้น้อยลงถึง 11 เปอร์เซ็น

2. เสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากภาวะน้ำเป็นพิษ ซึ่งจะพบบ่อยที่สุดในเด็กเล็กอายุน้อยกว่า 6 เดือน เนื่องจากไตของทารกยังทำงานได้ไม่เต็มที่ จึงไม่สามารถกรองของเหลวได้อย่างรวดเร็ว น้ำจึงไปเจือจางความเข้มข้นของโซเดียว ซึ่งเป็นแร่ธาตุสำคัญในร่างกายที่ทำหน้าที่รักษาสมดุลน้ำระหว่างนอกเซลล์และภายในเซลล์ โดยที่เด็กที่ดื่มน้ำเกินกว่าที่ร่างกายจะปรับสมดุลได้นั้น จะส่งผลให้ระดับเกลือโซเดียมต่ำ จนเกิดความผิดปกติของสมดุลสารน้ำในร่างกายของทารก น้ำจึงเข้าไปคั่งในเซลล์ทั่วร่างกาย ทำให้เกิดอาการกระตุกหรือชัก สมองบวม โคม่าและเสียชีวิตได้ในที่สุด

คุณแม่หลาย ๆ คนอาจจะเกิดคำถามว่า ทารกไม่ดื่มน้ำเลยเนี่ยนะ จะเป็นไปได้อย่างไร

คำตอบได้รับการชี้แจงจากมูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทยแล้วว่า จากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ลูกน้อยที่กินนมแม่อย่างเดียวใน 6 เดือนแรกจะมีผลดีกับการเติบโตและพัฒนาการของลูก เพราะนมแม่มีคุณค่าและพลังงานที่เหมาะสมกับความต้องการของทารก การกินนมแม่ล้วนในช่วง 6 เดือนแรก ช่วยลดอัตราการเสียชีวิตในทารกจากโรคร้ายต่างๆ เช่น โรคติดเชื้อในทางเดินอาหาร ในทางเดินหายใจ (ปอดบวม) หรือหูอักเสบ ช่วยให้ร่ายกายของทารกฟื้นตัวเร็วเมื่อเจ็บป่วย และยังช่วยแม่คุมกำเนิดโดยธรรมชาติด้วย

ดังนั้น ไม่ว่าลูกจะดูตัวโต อ้วนใหญ่หรือว่าอย่างไร หากยังไม่ถึงตามเกณฑ์ที่กำหนดแล้วละก็ อย่าเพิ่งให้ลูกดื่มน้ำกันเลยนะคะ

ที่มา: Whattoexpect, Parents และมูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ:

“น้ำองุ่น” น้ำผลไม้ที่ลูกคู่ควร

โรคติดต่อที่มักพบในโรงเรียนอนุบาล

parenttown

 

บทความจากพันธมิตร
รีวิวเจาะลึกนมผง เด่นเรื่องสมอง เสริม DHA และพัฒนาการรอบด้านของเด็ก แถมมีสารอาหารแน่น มาดูกันชัดๆ ว่ากล่องไหน ตอบโจทย์แม่ที่สุด
รีวิวเจาะลึกนมผง เด่นเรื่องสมอง เสริม DHA และพัฒนาการรอบด้านของเด็ก แถมมีสารอาหารแน่น มาดูกันชัดๆ ว่ากล่องไหน ตอบโจทย์แม่ที่สุด
ไม่ใช่แค่ยุงกัด...แต่คือวิกฤต เมื่อ “ไข้เลือดออก” สร้างผลกระทบที่ลึกซึ้งมากกว่าที่คิดในครอบครัว
ไม่ใช่แค่ยุงกัด...แต่คือวิกฤต เมื่อ “ไข้เลือดออก” สร้างผลกระทบที่ลึกซึ้งมากกว่าที่คิดในครอบครัว
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Muninth

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ลูกเริ่มโตแล้ว จะดื่มน้ำได้หรือยังนะ
แชร์ :
  • ลูกไม่ยอมพูด? 7 กิจกรรมพัฒนาทักษะภาษา ฝึกลูกให้พูดเก่ง ช่างเจรจา

    ลูกไม่ยอมพูด? 7 กิจกรรมพัฒนาทักษะภาษา ฝึกลูกให้พูดเก่ง ช่างเจรจา

  • ทำไมแค่ ให้ลูกช่วยงานบ้าน ถึงช่วยให้ลูกโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดี ประสบความสำเร็จมากกว่า?

    ทำไมแค่ ให้ลูกช่วยงานบ้าน ถึงช่วยให้ลูกโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดี ประสบความสำเร็จมากกว่า?

  • 10 ของเล่นสำหรับทารก สุดเจ๋ง! เสริมพัฒนาการลูกน้อยวัย 0-6 เดือน

    10 ของเล่นสำหรับทารก สุดเจ๋ง! เสริมพัฒนาการลูกน้อยวัย 0-6 เดือน

  • ลูกไม่ยอมพูด? 7 กิจกรรมพัฒนาทักษะภาษา ฝึกลูกให้พูดเก่ง ช่างเจรจา

    ลูกไม่ยอมพูด? 7 กิจกรรมพัฒนาทักษะภาษา ฝึกลูกให้พูดเก่ง ช่างเจรจา

  • ทำไมแค่ ให้ลูกช่วยงานบ้าน ถึงช่วยให้ลูกโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดี ประสบความสำเร็จมากกว่า?

    ทำไมแค่ ให้ลูกช่วยงานบ้าน ถึงช่วยให้ลูกโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดี ประสบความสำเร็จมากกว่า?

  • 10 ของเล่นสำหรับทารก สุดเจ๋ง! เสริมพัฒนาการลูกน้อยวัย 0-6 เดือน

    10 ของเล่นสำหรับทารก สุดเจ๋ง! เสริมพัฒนาการลูกน้อยวัย 0-6 เดือน

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว