X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกสําลักอาหาร ปฐมพยาบาล อย่างไร ป้อนอาหารเด็กเล็ก ต้องระวัง! อาหารอันตราย

บทความ 3 นาที
ลูกสําลักอาหาร ปฐมพยาบาล อย่างไร ป้อนอาหารเด็กเล็ก ต้องระวัง! อาหารอันตราย

ลูกสำลักห้ามใช้นิ้วล้วงคอ! ลูกสําลักอาหาร ปฐมพยาบาลอย่างไร 

ลูกสําลักอาหาร ปฐมพยาบาล

ป้อนอาหารทารก ป้อนอาหารเด็กเล็ก ต้องระวังลูกสําลักอาหาร วิธีปฐมพยาบาลลูกสำลัก ทำอย่างไร ลูกสําลักอาหาร ปฐมพยาบาล อย่างไร

 

ป้อนอาหารเด็กเล็ก ป้องกันสำลักอุดกั้น

กระทรวงสาธารณสุข แนะผู้ปกครองระวังการป้อนอาหารเด็กเล็ก โดยเฉพาะ ลูกชิ้น ไส้กรอก ถั่ว ผลไม้ที่มีเมล็ดขนาดเล็ก ป้องกันสิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจเด็ก หากเด็กสำลัก หายใจไม่ออก ริมฝีปากเขียวคล้ำ โทรขอความช่วยเหลือ 1669 ห้ามใช้นิ้วมือล้วงลำคอเด็ก เพราะสิ่งแปลกปลอมอาจตกลึกลงไปอุดกั้นมากขึ้น จนขาดอากาศหายใจได้

 

ป้อนอาหารทารกระวัง ลูกสําลักอาหาร

นายแพทย์ไพศาล ดั่นคุ้ม รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข และโฆษกกระทรวงสาธารณสุข ให้สัมภาษณ์ว่า อันตรายที่พบบ่อยในเด็กเล็กอายุ 1 – 3 ปี คือ สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจ เนื่องจากเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็น ต้องการทดลองทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง ชอบหยิบจับสิ่งของเข้าปาก ใส่จมูก และยังมีฟันกรามขึ้นไม่ครบ ทำให้เคี้ยวอาหารไม่ละเอียดพอ รวมทั้งมักจะวิ่งหรือเล่นขณะกินอาหาร หากไม่ได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีอาจเกิดอันตรายถึงชีวิตได้ ที่พบส่วนใหญ่มักเป็นอาหารหรือถั่วชนิดต่าง ๆ เมล็ดพืช เมล็ดผลไม้

นอกจากนี้ ชิ้นส่วนพลาสติก ของเล่นชิ้นเล็ก ๆ เข็ม เข็มกลัด ลูกปัด กระดุม ก็เป็นสิ่งของต้องระวังลูกสําลักอาหาร เพราะช่วงวัยอยากรู้ มักจะหยิบของชิ้นเล็ก ๆ เข้าปากอยู่เสมอ

 

วิธีป้องกันสำลักอุดกั้น

นายแพทย์ไพศาล กล่าวต่อว่า ขอแนะนำผู้ปกครองดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด

  • ระมัดระวังอาหารที่มีลักษณะเป็นเส้น กลม ลื่น และแข็ง เช่น ลูกชิ้น ไส้กรอก ควรป้อนเป็นชิ้นเล็ก ๆ
  • ส่วนผลไม้เช่น แตงโม น้อยหน่า ละมุด มะขามให้แกะเมล็ดออกก่อน
  • ไม่ป้อนอาหารขณะเด็กกำลังวิ่งเล่น
  • สอนเด็กเคี้ยวอาหารช้า ๆ ให้ละเอียดก่อนกลืน
  • เลือกของเล่นให้เหมาะกับวัยของเด็ก
  • ไม่ควรให้เล่นของเล่นที่มีชิ้นส่วนขนาดเล็กหรือแตกหักง่าย
  • เก็บสิ่งของที่มีขนาดเล็ก เช่น กระดุม เข็มกลัด ยา ให้พ้นมือเด็ก และสอนเด็กไม่ให้นำของเล่นไปอมหรือเคี้ยว เพื่อป้องกันสิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจเด็ก

 

แม่ลูกเล็ก วัยทารก ระวังให้ดี! อาหารและสิ่งของอันตราย อาจทำให้ลูกตายได้ อย่าประมาท ลูกสําลักอาหาร ปฐมพยาบาล อย่างไร ป้อนอาหารเด็กเล็ก ต้องระวัง! อาหารอันตราย

ลูกสําลักอาหาร ปฐมพยาบาลอย่างไร ป้อนอาหารเด็กเล็ก ต้องระวัง! อาหารอันตราย

วิธีช่วยทารกสำลักอาหาร ปฐมพยาบาลอย่างไร

  1. ถ้าเป็นเด็กทารกให้จับนอนหงายประคองด้วยแขนหรือหน้าตัก
  2. กดด้วยนิ้วสองนิ้วลงไปตรง ๆ บริเวณกระดูกอกตรงกลาง 5 ครั้ง
  3. คว่ำหน้าหันหัวลงประคองด้วยแขนและหน้าตัก ตบด้วยอุ้งมือกลางหลัง 5 ครั้ง

อ่านเพิ่มเติม วิธีช่วยคนสําลักอาหาร ทารกสำลักอาหาร ปฐมพยาบาลอย่างไร วิธีการปฏิบัติเมื่อสำลักอาหาร

 

ในกรณีที่เด็กมีอาการสำลัก ไออย่างรุนแรง เอามือจับบริเวณคอ พูดไม่ได้ หายใจหอบ หายใจไม่ออก ริมฝีปากเขียวคล้ำ ถือเป็นภาวะฉุกเฉิน มักเกิดจากสิ่งที่อุดกั้นมีขนาดใหญ่ไปติดค้างที่กล่องเสียง ซึ่งเป็นตำแหน่งแคบที่สุดของทางเดินหายใจ ทำให้เกิดการอุดกั้นอย่างสมบูรณ์และเฉียบพลัน ให้รีบโทรสายด่วน 1669 หรือนำส่งโรงพยาบาลใกล้บ้านโดยเร็วที่สุด ห้ามใช้นิ้วมือ หรืออุปกรณ์อื่น ๆ กวาดล้วงเข้าไปในลำคอเด็กเป็นอันขาด เพราะอาจทำให้สิ่งแปลกตกลึกลงไปในตำแหน่งที่อุดกั้นทางเดินหายใจมากขึ้น จนขาดอากาศหายใจได้

 

รู้กันไปแล้วว่าลูกสําลักอาหาร ปฐมพยาบาลอย่างไร สิ่งสำคัญคือการระมัดระวังอาหาร และสิ่งแปลกปลอม ไม่ให้ลูกเคี้ยวหรือกลืนสิ่งที่เป็นอันตรายเข้าไป เพราะช่วงวัยทารกหรือเด็กเล็ก มักจะชื่นชอบการคว้าของเข้าปาก พ่อแม่ผู้ปกครองต้องดูแลให้ดีนะคะ

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

ทารกควรใส่ถุงมือถุงเท้า หรือไม่ ถุงมือถุงเท้าทารกใส่ถึงกี่เดือน การให้ทารกใส่ถุงมือ ถุงเท้า ปิดกั้นพัฒนาการลูกไหม

ลูกไอแห้งๆ ไอเสียงวี้ด ไอตอนกลางคืน ลูกไอแบบไหนอันตราย วิธีสังเกตอาการไอของทารก

6 เมนูไข่สำหรับทารก สูตรอาหารเด็กเล็กทำง่าย อร่อย คุณค่าทางอาหารสูง

ตารางอาหารทารกขวบปีแรก ลูกน้อยในแต่ละวัยควรกินอะไร เท่าไหร่ ถึงจะพอดี?

 

บทความจากพันธมิตร
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
หยุดความเชื่อผิดๆ : ผิวเด็กไม่ได้ฟื้นฟูได้ไว เป็นแผลห้ามปล่อยไว้ให้หายเอง
หยุดความเชื่อผิดๆ : ผิวเด็กไม่ได้ฟื้นฟูได้ไว เป็นแผลห้ามปล่อยไว้ให้หายเอง
จัดฟันแบบใส สร้างโลกสดใสให้เด็ก ๆ มีรอยยิ้มสวยมั่นใจได้มากกว่าที่คิด
จัดฟันแบบใส สร้างโลกสดใสให้เด็ก ๆ มีรอยยิ้มสวยมั่นใจได้มากกว่าที่คิด

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Tulya

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • ลูกสําลักอาหาร ปฐมพยาบาล อย่างไร ป้อนอาหารเด็กเล็ก ต้องระวัง! อาหารอันตราย
แชร์ :
  • วิธีช่วยคนสําลักอาหาร ทารกสำลักอาหาร ปฐมพยาบาลอย่างไร วิธีการปฏิบัติเมื่อสำลักอาหาร

    วิธีช่วยคนสําลักอาหาร ทารกสำลักอาหาร ปฐมพยาบาลอย่างไร วิธีการปฏิบัติเมื่อสำลักอาหาร

  • วิธีปฐมพยาบาลสําลักอาหาร เด็กเล็ก ช่วยลูกยังไงให้รอด คนเป็นพ่อเป็นแม่ไม่รู้ไม่ได้

    วิธีปฐมพยาบาลสําลักอาหาร เด็กเล็ก ช่วยลูกยังไงให้รอด คนเป็นพ่อเป็นแม่ไม่รู้ไม่ได้

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • วิธีช่วยคนสําลักอาหาร ทารกสำลักอาหาร ปฐมพยาบาลอย่างไร วิธีการปฏิบัติเมื่อสำลักอาหาร

    วิธีช่วยคนสําลักอาหาร ทารกสำลักอาหาร ปฐมพยาบาลอย่างไร วิธีการปฏิบัติเมื่อสำลักอาหาร

  • วิธีปฐมพยาบาลสําลักอาหาร เด็กเล็ก ช่วยลูกยังไงให้รอด คนเป็นพ่อเป็นแม่ไม่รู้ไม่ได้

    วิธีปฐมพยาบาลสําลักอาหาร เด็กเล็ก ช่วยลูกยังไงให้รอด คนเป็นพ่อเป็นแม่ไม่รู้ไม่ได้

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ