X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกรอดตายเพราะคุณยาย ภาวะแคลเซียมเกาะรกทำรกเสื่อม ลูกไม่ดิ้นไม่ควรรอช้า เพียงไม่กี่ชั่วโมงลูกอาจตายคาครรภ์

บทความ 3 นาที
ลูกรอดตายเพราะคุณยาย ภาวะแคลเซียมเกาะรกทำรกเสื่อม ลูกไม่ดิ้นไม่ควรรอช้า เพียงไม่กี่ชั่วโมงลูกอาจตายคาครรภ์

ลูกรอดตายเพราะคุณยาย ภาวะแคลเซียมเกาะรกทำรกเสื่อม ลูกไม่ดิ้นไม่ควรรอช้า เพียงไม่กี่ชั่วโมงลูกอาจตายคาครรภ์ เรื่องลูกไม่ดิ้นถือว่าเป็นเรื่องใหญ่นะคะ

ลูกรอดตายเพราะคุณยาย ภาวะแคลเซียมเกาะรกทำรกเสื่อม ลูกไม่ดิ้นไม่ควรรอช้า เพียงไม่กี่ชั่วโมงลูกอาจตายคาครรภ์

ลูกรอดตายเพราะคุณยาย ภาวะแคลเซียมเกาะรกทำรกเสื่อม ลูกไม่ดิ้นไม่ควรรอช้า เพียงไม่กี่ชั่วโมงลูกอาจตายคาครรภ์ เมื่อคุณแม่มีภาวะแคลเซียมเกาะรก หรือ placental calcification จนทำให้ลูกในท้องอยู่ในภาวะที่อันตราย เสี่ยงเสียชีวิต นี่คือสิ่งที่คุณยายทำเพื่อช่วยทั้งลูกสาวและหลานที่ยังไม่เคยเห็นหน้า

สัญญาณอันตราย

คุณแม่ Ayla Heller อายุครรภ์ได้ 38 สัปดาห์ อีกไม่นานก็จะได้เจอหน้าลูกน้อย แมดดี้ แต่วันนี้ไม่เหมือนทุกวัน คุณแม่สังเกตว่าลูกไม่ค่อยดื้น แต่ก็ยังวางใจ เนื่องจากบางทีลูกก็ไม่ค่อยดิ้น แต่พอบ่ายคุณแม่เริ่มรู้สึกเริ่มมีการเคลื่อนไหวอยู่ภายใน เพียงแต่ลูกก็ยังไม่ดิ้นเหมือนเดิม หลังจากที่บอกคุณพ่อ คุณแม่ก็เข้าไปอาบน้ำและดื่มน้ำส้มเย็นๆ และกลับมาฟังการเต้นของหัวใจเจ้าตัวเล็ก โล่งใจที่ลูกยังหัวใจเต้น ยังมีชีพจรอยู่ แต่ก็เป็นอีกครั้งที่ลูกยังไม่ดิ้นอยู่ดี

คุณแม่เริ่มตกใจ แต่รู้สึกได้ว่าลูกกำลังปรับตำแหน่งในท้อง ดังนั้นตัวช่วยที่สองคือการโทรไปหาคุณยาย เนื่องจากอินเตอร์เน็ตไม่ได้ช่วยอะไรมาก และนับว่าเป็นเคราะห์ดี ที่คุณยายรู้สึกว่าไม่ปกติแล้ว และบอกให้คุณแม่รีบไปโรงพยาบาลให้ไว

ลูกรอดตายเพราะคุณยาย ภาวะแคลเซียมเกาะรกทำรกเสื่อม ลูกไม่ดิ้นไม่ควรรอช้า เพียงไม่กี่ชั่วโมงลูกอาจตายคาครรภ์

หลังจากไปถึงโรงพยาบาล เจ้าหน้าที่ใส่เครื่องติดตามการเคลื่อนไหวของทารก ผ่านไป 30-40 นาที คุณแม่จึงจำเป็นที่จำต้องผ่าคลอดฉุกเฉินในคืนนั้นเลย

หลังจากที่คุณแม่คลอดหนูน้อยแมดดี้ออกมาแล้ว จึงพบว่ามีภาวะแคลเซียมเกาะรก ทำให้รกเสื่อม คุณหมอไม่ทราบสาเหตุที่เกิดขึ้นและไม่มีอะไรที่คุณแม่จะทำได้เพื่อป้องกันเสียด้วย และด้วยสาเหตุนี้ทำให้เจ้าตัวเล็กได้รับออกซิเจนหรือสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการ ร่างกายของแมดดี้จึงพยายามรักษาพลังงานเอาไว้ จึงทำให้เธอไม่ดิ้นนั่นเอง นอกจากนี้หลังคลอดออกมาร่างกายแมดดี้มีน้ำตาลในเลือดต่ำ คุณหมอจึงจำเป็นต้องให้กลูโคสในสองสามวันหลังคลอด

ช้าไปอีกนิด ลูกอาจไม่อยู่แล้ว 

ถ้าช้าไปอีกนิด หนูน้อยแมดดี้อาจจะไม่มีลมหายใจไปแล้วค่ะ เดิมทีคุณแม่จะคอยจนถึงเช้าจึงค่อยมาหาหมอ แต่แมดดี้น้อยรอดตายเพราะคุณยายตื้อให้คุณแม่รีบๆ ออกไปหาหมอ จึงทำให้ช่วยชีวิตหลานเอาไว้ได้ ดังนั้นคุณแม่จึงออกมาโพสต์ข้อความขอร้องแม่ๆ ทุกคน ถ้าลูกหยุดดิ้น หรือสงสัยว่าอาการที่เกิดขึ้นไม่ปกติ อย่ารีรอค่ะ รีบไปหาคุณหมอเลย

ลูกรอดตายเพราะคุณยาย ภาวะแคลเซียมเกาะรกทำรกเสื่อม ลูกไม่ดิ้นไม่ควรรอช้า เพียงไม่กี่ชั่วโมงลูกอาจตายคาครรภ์

สำหรับตอนนี้แมดดี้มีอายุได้ 3 สัปดาห์แล้ว แข็งแรงดีค่ะ

แคลเซียมหรือหินปูนเกาะรก คืออะไร

รกเสื่อมนั้นไม่ใช่โรค แต่เป็นความสามารถในการทำงานของรกลดลง จากปัจจัยต่าง ๆ อย่างไรก็ตามรกเสื่อมจะส่งผลกระทบต่อทารกโดยตรง วิธีป้องกันได้ดีที่สุด คือ เมื่อตั้งครรภ์แล้วควรไปรับการตรวจครรภ์อย่างสม่ำเสมอนั่นเอง และสามารถพบได้ด้วยเครื่อง USG scan โดยหลังจาก 36 สัปดาห์ ควรจะสแกนทุกสัปดาห์เพื่อลดความเสี่ยงค่ะ 

สาเหตุหรือปัจจัย

  1. โรคประจำตัวของมารดา เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ซึ่งอาจจะส่งผลต่อการไหลเวียนของหลอดเลือดมีขนาดแคบตีบลง ทำให้เลือดไปเลี้ยงทารกไม่เพียงพอ
  2. การแข็งตัวของเลือดมากผิดปกติ ทำให้มีลิ่มเลือดอุดตันตามหลอดเลือด ทำให้เลือดส่งไปเลี้ยงทารกไม่เพียงพอ
  3. คุณแม่สูบบุหรี่ ดื่มเหล้า หรือใช้สารเสพติด
  4. ตั้งครรภ์เกินกำหนด
  5. โรคของรกเอง เช่น เนื้องอกรก รกลอกตัวบางส่วน รกบางผิดปกติ หรือมีหินปูนเกาะรกมากเกินไป

ป้องกันได้หรือไม่

ในกรณีที่คุณแม่มีโรคประจำตัว การรักษาโรคประจำตัวจะเป็นการป้องกันรกเสื่อมได้ดีที่สุด นอกจากนี้การป้องกันการตั้งครรภ์เกินกำหนด โดยทั่วไปแพทย์จะให้คลอดเมื่ออายุครรภ์ไม่เกิน 41 สัปดาห์ เป็นวิธีที่จะช่วยลดโอกาสเสี่ยงกับภาวะรกเสื่อมได้

รกเสื่อมนั้นไม่ใช่โรค แต่ความสามารถในการทำงานของรกลดลง จากปัจจัยต่าง ๆ อย่างไรก็ตามรกเสื่อมจะส่งผลกระทบต่อทารกโดยตรง วิธีป้องกันได้ดีที่สุด คือ เมื่อตั้งครรภ์แล้วควรไปรับการตรวจครรภ์อย่างสม่ำเสมอนั่นเอง

ที่มา sg.theasianparent

บทความที่น่าสนใจ

คุณแม่แชร์ : กู้ร่างพัง จากวิกฤต กล้ามเนื้อหน้าท้องแยก หลังคลอด

คุณแม่โพสต์รูปลูกที่แท้งตอนสัปดาห์ที่ 14 เป็นมากกว่าก้อนเลือด พร้อมข้อความสะกิดใจแม่ที่กำลังตัดสินใจทำแท้ง

parenttown

บทความจากพันธมิตร
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ลูกรอดตายเพราะคุณยาย ภาวะแคลเซียมเกาะรกทำรกเสื่อม ลูกไม่ดิ้นไม่ควรรอช้า เพียงไม่กี่ชั่วโมงลูกอาจตายคาครรภ์
แชร์ :
  • กิจกรรมที่ทำเเล้ว "ลูกไม่ดิ้น"

    กิจกรรมที่ทำเเล้ว "ลูกไม่ดิ้น"

  • 7 Step กว่าจะถึงจุดที่เรียกว่า “แม่”

    7 Step กว่าจะถึงจุดที่เรียกว่า “แม่”

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • กิจกรรมที่ทำเเล้ว "ลูกไม่ดิ้น"

    กิจกรรมที่ทำเเล้ว "ลูกไม่ดิ้น"

  • 7 Step กว่าจะถึงจุดที่เรียกว่า “แม่”

    7 Step กว่าจะถึงจุดที่เรียกว่า “แม่”

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ