X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

รกเปื่อยยุ่ย หลังจากคลอดลูกออกมา เป็นเพราะอะไร?

บทความ 3 นาที
รกเปื่อยยุ่ย หลังจากคลอดลูกออกมา เป็นเพราะอะไร?

คำถามสะเทือนใจของแม่ท้อง รกเปื่อยยุ่ยเกิดจากอะไร จะเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างการคลอดได้หรือไม่ อันตรายแค่ไหน คุณหมอมีคำตอบ!

รกเปื่อยยุ่ยเกิดจากอะไร

สาเหตุส่วนใหญ่ของรกเปื่อยยุ่ย เกิดจากการติดเชื้อในมดลูก ซึ่งมักพบร่วมกับภาวะถุงน้ำคร่ำแตกและมีน้ำเดินเป็นเวลานาน แต่ก็สามารถพบได้ในการตั้งครรภ์ที่ถุงน้ำยังไม่แตกเช่นกัน

 

ภาวะรกเปื่อยยุ่ยอันตรายแค่ไหน สามารถเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างการคลอดได้หรือไม่

รกเปื่อยยุ่ย

รก เปื่อยยุ่ย

ภาวะรกเปื่อยยุ่ยสามารถทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างการคลอดได้ เนื่องจากเนื้อรกจะฉีกขาดได้ง่าย มีโอกาสเกิดเศษรกค้างในโพรงมดลูก ซึ่งทำให้เกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดและการติดเชื้อในมดลูก

 

แพทย์จะทำอย่างไรเมื่อตรวจพบว่ารกเปื่อยยุ่ย

รกเปื่อยยุ่ย

รกเปื่ อยยุ่ย

ในกรณีที่แพทย์ตรวจพบว่ารกเปื่อยยุ่ย แพทย์จะมีการตรวจสอบรกอย่างละเอียดว่ารกได้คลอดออกมาครบถ้วนหรือไม่ และอาจทำการตรวจหาการติดเชื้อเพิ่มเติมทั้งในแม่และลูกในกรณีที่สงสัยการติดเชื้อ

รกเปื่อยยุ่ย

รกเปื่อย ยุ่ย

รกเปื่อยยุ่ย

ร กเปื่อยยุ่ย

นพ.อดิศร อักษรภูษิตพงศ์

นพ.อดิศร อักษรภูษิตพงศ์

สูตินรีแพทย์ เฉพาะทางด้านเวชศาสตร์มารดาและทารกในครรภ์

ประจำโรงพยาบาลพญาไท 3

รกเกาะต่ำ คืออะไร

ก่อนจะทำความรู้จักกับ รกเกาะต่ำ เรามาทำความรู้จักกับรกกันก่อนครับ รกคืออวัยวะพิเศษที่ถูกสร้างขึ้นมาในช่วงตั้งครรภ์จากไข่ที่ผสมแล้ว โดยรกนั้นจะเจริญเติบโตไปพร้อมๆกับทารกในครรภ์ และทำหน้าที่นำสารอาหารจากคุณแม่ส่งผ่านมาเลี้ยงลูกน้อยที่อยู่ในท้อง ซึ่งโดยปกติแล้วรกควรจะเกาะอยู่ที่ผนังส่วนบนของโพรงมดลูก ทำให้ไม่มีสิ่งกีดขวางทางคลอดของทารก แต่ถ้ารกมาเกาะอยู่บริเวณส่วนล่างของมดลูก หรือคลุมมาถึงด้านในของปากมดลูก ลักษณะแบบนี้จะเรียกว่า รกเกาะต่ำซึ่งถือว่าเป็นภาวะไม่ปกติที่มักพบได้ในหญิงตั้งครรภ์ประมาณ 1 ใน 200 คน

รกเกาะต่ำอันตรายอย่างไร

ภาวะรกเกาะต่ำ เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้แม่ท้องมีเลือดออกทางช่องคลอด ส่วนใหญ่เลือดที่ออกครั้งแรกจะออกไม่มาก และมักจะหยุดเองถ้าไม่มีสิ่งไปกระตุ้น เช่น การมีเพศสัมพันธ์ แต่ถ้าแม่ท้องมีเลือดออกมาก จะมีผลต่อทั้งแม่และลูกในครรภ์ อาจจำเป็นต้องผ่าคลอดแม้ว่าอายุครรภ์จะยังไม่ถึงกำหนด หากหัวใจของทารกเต้นผิดปกติก็อาจทำให้ทารกเสียชีวิตในครรภ์ได้ และภาวะรกเกาะต่ำนี้อาจทำให้แม่ท้องตกเลือด และอาจช็อคจากการเสียเลือดจนเสียชีวิต บางครั้งหากมารดาเสียเลือดมากหลังผ่าตัดคลอดแล้ว อาจจำเป็นต้องตัดมดลูกออกเพื่อหยุดเลือดด้วย โดยอัตราการเสียชีวิตของแม่ท้องที่เกี่ยวข้องกับภาวะรกเกาะต่ำนั้น พบได้ 2 – 3 % ซึ่งถือว่าเป็นอะไรที่อันตรายมากเลยทีเดียวนะครับ

รกเกาะต่ำ

รกเกาะต่ำมีกี่แบบ

รกเกาะต่ำแบ่งได้เป็น 3 แบบใหญ่ๆ ตามความรุนแรง ดังนี้ครับ

  1. รกเกาะต่ำคลุมปากมดลูกทั้งหมดรกปิดปากมดลูกทั้งหมดทำให้ทารกคลอดทางช่องคลอดไม่ได้ ต้องผ่าคลอดทารกออกมา
  2. รกเกาะต่ำคลุมปากมดลูกเป็นบางส่วนปากมดลูกที่ขยายมากขึ้นอาจไปดึงให้รกขยับสูงขึ้น บางครั้งอาจไม่ขวางการคลอดของทารก แต่จะทำให้มีเลือดออกมาก ทำให้ต้องผ่าคลอดทารกออกมา
  3. รกเกาะต่ำบริเวณด้านล่างของมดลูกแต่ไม่คลุมปากมดลูกคือทารกสามารถคลอดทางช่องคลอดได้ แต่ถึงแม่จะสามารถคลอดทารกทางช่องคลอดได้ ก็ทำให้เลือดออกมามากเช่นกัน

รกเกาะต่ำเกิดขึ้นได้อย่างไร

ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดว่า รกเกาะต่ำเกิดขึ้นจากสาเหตุใด แต่ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดภาวะรกเกาะต่ำมีดังนี้ครับ

  • ตั้งครรภ์มาแล้วหลายครั้ง
  • ตั้งครรภ์ตอนอายุมาก หรือ 35 ปีขึ้นไป
  • ตั้งครรภ์แฝด
  • เคยผ่าตัดคลอดมาก่อน ยิ่งผ่าตัดหลายครั้ง ยิ่งมีความเสี่ยงมากขึ้น
  • เคยขูดมดลูก
  • แม่ท้องสูบบุหรี่จัด
  • การติดเชื้อในครรภ์ เช่น ซิฟิลิส
  • ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่น ท่าขวาง

รกเกาะต่ำ

จะรู้ได้อย่างไรว่ามีรกเกาะต่ำ

สำหรับคุณแม่ที่มีปัจจัยเสี่ยงดังที่กล่าวมาข้างต้น โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสสุดท้ายของการตั้งครรภ์ สามารถสังเกตได้จากอาการเหล่านี้

  • ไม่มีอาการปวดท้อง แต่มีเลือดไหลออกมาทางช่องคลอด
  • เลือดไหลออกมาไม่มาก แต่เลือดออกบ่อยครั้ง

หากมีอาการเหล่านี้เกิดขึ้น ไม่ควรนิ่งนอนใจและควรรีบไปพบแพทย์โดยด่วน

รกเกาะต่ำเป็นเรื่องสำคัญที่แม่ท้องหลายคนมองข้าม และเป็นอีกเรื่องที่เป็นอันตรายถึงขั้นที่อาจทำให้คุณแม่และลูกน้อยในครรภ์เสียชีวิตได้ หากรู้ว่าตั้งครรภ์ควรรีบไปฝากครรภ์ และควรไปตรวจครรภ์อย่างสม่ำเสมอ เพราะนอกจากจะช่วยลดความเสี่ยงจากรกเกาะต่ำแล้ว ยังช่วยลดความเสี่ยงจากภาวะที่เป็นอันตรายอื่นๆได้อีกด้วยนะครับ

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

บทความจากพันธมิตร
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?

สามี กินรก ภรรยา น่าขยะแขยงหรือมีคุณค่าทางอาหาร

ภาวะรกเกาะต่ำขณะตั้งครรภ์ คืออะไร อันตรายแค่ไหน

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

โรงพยาบาลพญาไท 3

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • รกเปื่อยยุ่ย หลังจากคลอดลูกออกมา เป็นเพราะอะไร?
แชร์ :
  • ร้องไห้หลังคลอด อารมณ์คุณแม่หลังคลอด เป็นซึมเศร้าหลังคลอด เครียด หงุดหงิด

    ร้องไห้หลังคลอด อารมณ์คุณแม่หลังคลอด เป็นซึมเศร้าหลังคลอด เครียด หงุดหงิด

  • ผิดปกติหลังคลอด อาการผิดปกติหลังคลอด เป็นแบบไหน แม่หลังคลอด มีอาการอย่างไร

    ผิดปกติหลังคลอด อาการผิดปกติหลังคลอด เป็นแบบไหน แม่หลังคลอด มีอาการอย่างไร

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ร้องไห้หลังคลอด อารมณ์คุณแม่หลังคลอด เป็นซึมเศร้าหลังคลอด เครียด หงุดหงิด

    ร้องไห้หลังคลอด อารมณ์คุณแม่หลังคลอด เป็นซึมเศร้าหลังคลอด เครียด หงุดหงิด

  • ผิดปกติหลังคลอด อาการผิดปกติหลังคลอด เป็นแบบไหน แม่หลังคลอด มีอาการอย่างไร

    ผิดปกติหลังคลอด อาการผิดปกติหลังคลอด เป็นแบบไหน แม่หลังคลอด มีอาการอย่างไร

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว