X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

พ่อแม่นอนห้องเดียวกับลูก ดีไหม พ่อแม่นอนกับลูกหรือแยกห้องนอนกับลูก แบบไหนดีกว่า

บทความ 3 นาที
พ่อแม่นอนห้องเดียวกับลูก ดีไหม พ่อแม่นอนกับลูกหรือแยกห้องนอนกับลูก แบบไหนดีกว่า

พ่อแม่ควรนอนห้องเดียวกันหรือนอนแยกห้องกับลูกที่อายุเท่าไรดี?

พ่อแม่นอนห้องเดียวกับลูก ดีไหม

ไขข้อข้องใจ พ่อแม่นอนห้องเดียวกับลูก ดีไหม พ่อแม่นอนกับลูกหรือแยกห้องนอนกับลูก แบบไหนดีกว่า …คุณพ่อคุณแม่หลายบ้านอาจสงสัยว่าควรจะให้ลูกนอนในห้องเดียวกัน อยู๋ในเตียงเดียวกันกับคุณพ่อคุณแม่หรือไม่ หากจะแยกห้องนอนกันควรจะทำเมื่อลูกอายุเท่าไร วันนี้หมอมีข้อแนะนำ รวมถึงข้อดีข้อเสียในการนอนห้องเดียวกันและนอนแยกห้องกับลูกมาเล่าให้ฟังนะคะ

 

นอนกับลูกถึงกี่ขวบ

การจะนอนแยกห้องกับลูกควรทำเมื่อไร?

โดยทั่วไปไม่มีกฎตายตัวว่าพ่อคุณแม่ควรจะแยกห้องนอนกับลูกเมื่ออายุเท่าไร ปัจจัยที่ควรคำนึงถึงคือ

  • ลูกมีความพร้อมที่จะนอนแยกห้องเมื่ออายุเท่าไร?
  • คุณพ่อคุณแม่สามารถนอนห้องเดียวกับลูกได้อย่างสะดวกสบาย หลับพักผ่อนได้ดีหรือไม่?

ทั้งนี้ เมื่อลูกอายุอยู่ในช่วงแรกเกิดถึง 2-3 เดือน จะนอนหลับได้ไม่นาน ต้องทานนมแม่บ่อย ๆ การที่ลูกได้นอนห้องเดียวกับคุณแม่จะสะดวกกว่า หลังจากวัยนี้จึงค่อยพิจารณาการให้ลูกนอนแยกห้องได้ โดยคุณพ่อคุณแม่ลองพิจารณาจากข้อดีข้อเสียต่อไปนี้นะคะ

 

การที่ลูกนอนแยกห้องกับคุณพ่อคุณแม่มีข้อดี-ข้อเสียอย่างไรบ้าง?

หากลูกนอนแยกห้องกับคุณพ่อคุณแม่มีข้อดีคือ ทำให้ทั้งลูกและคุณพ่อคุณแม่นอนหลับได้ยาวและมีคุณภาพในการนอนดีกว่า เนื่ิองจากจะไม่รบกวนกันและกัน โดยคุณพ่อคุณแม่ควรจะหาวิธีที่ทำให้สามารถสังเกตความผิดปกติของลูกได้ เช่น ใช้ baby monitor หรือ อยู่ในห้องติดกันที่สามารถได้ยินเสียงลูกร้องได้ตลอดเวลา

แต่ก็มีข้อเสียคือคุณพ่อคุณแม่จะไม่สามารถสังเกตความผิดปกติของลูกได้อย่างใกล้ชิดในระหว่างการนอน และหากลูกตื่นบ่อยและร้องกวนจะทำให้คุณพ่อคุณแม่ต้องเหนื่อยขึ้นกว่าเดิมเพราะต้องวิ่งมาดูลูกในอีกห้องหนึ่ง

 

การที่ลูกนอนห้องเดียวกับคุณพ่อคุณแม่มีข้อดี-ข้อเสียอย่างไรบ้าง?

หากลูกนอนห้องเดียวกับพ่อแม่ มีข้อดีคือจะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดภาวะหลับไม่ตื่นในทารก (Sudden infant death syndrome หรือ SIDS) ได้ ซึ่งสมาคมกุมารแพทย์แห่งสหรัฐอเมริกาแนะนำว่า

  1. ควรให้ลูกนอนในห้องเดียวกับคุณพ่อคุณแม่ โดยแยกพื้นที่ผิวการนอน จนถึงอายุ 1 ปีหรืออย่างน้อยอายุ 6 เดือน เพื่อช่วยลดความเสี่ยงในการเกิด SIDS
  2. ควรให้เด็กนอนหงาย บนที่นอนซึ่งไม่นุ่มเกินไป
  3. หากจำเป็นต้องให้ลูกนอนบนเตียงเดียวกับคุณพ่อคุณแม่ คุณพ่อคุณแม่ต้องไม่สูบบุหรี่ ไม่ใช้ยานอนหลับหรือดื่มแอลกอฮอล์ ไม่ควรมีหมอนหรือผ้าห่มรอบตัวเด็กและไม่ควรให้เด็กนอนอยู่บนที่นอนที่นุ่มมากจนเกินไป
  4. ขณะที่คุณแม่ให้นมก็ไม่ควรจะนอนหลับเพราะจะเพิ่มความเสี่ยงของการกดทับทางเดินหายใจลูกและเกิดภาวะ SIDS ได้

ส่วนข้อเสียของการนอนห้องเดียวกับลูกคือ ลูกจะไม่สามารถฝึกการนอนหลับได้ด้วยตนเอง และคุณพ่อคุณแม่อาจไม่สามารถพักผ่อนได้เต็มที่หากลูกตื่นบ่อย

Advertisement

 

จะเห็นได้ว่าการนอนห้องเดียวกับคุณพ่อคุณแม่หรือนอนแยกห้องกันนั้นมีข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกันไป ซึ่งแต่ละครอบครัวควรปรับใช้ให้เหมาะกับบริบท ความพร้อมของลูกและความสะดวก โดยอาจไม่ได้มีกฎเกณฑ์ที่ตายตัวชัดเจน สิ่งที่สำคัญคือควรปฏิบัติตามคำแนะนำในการป้องกันเกิดภาวะ SIDS คืออาจนอนห้องเดียวกับลูก จนถึงอย่างน้อยอายุ 6 เดือนถึง 1 ปีและจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อความปลอดภัยของลูกน้อยค่ะ

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

พัฒนาการลูก เห็น ได้ยิน พูด ลูกมองเห็นตอนกี่เดือน ทารกได้ยินตอนกี่เดือน ทารกพูดได้ตอนกี่เดือน

5 สิ่งห้ามใช้กับสะดือเด็กแรกเกิด ถ้าไม่อยากให้สะดือลูกติดเชื้อ

14 วิธีสร้างเสียงหัวเราะให้ทารก เทคนิคเลี้ยงลูกให้ฉลาดและอารมณ์ดีตั้งแต่แบเบาะ

วิธีเล่นกับลูก กระตุ้นพัฒนาการลูกน้อย วัยแรกเกิด -18 เดือน

 

บทความจากพันธมิตร
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

รศ. พญ. รวีรัตน์ สิชฌรังษี

  • หน้าแรก
  • /
  • ทารก
  • /
  • พ่อแม่นอนห้องเดียวกับลูก ดีไหม พ่อแม่นอนกับลูกหรือแยกห้องนอนกับลูก แบบไหนดีกว่า
แชร์ :
  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว