X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ท้องเกิน 40 สัปดาห์ ครบกำหนดแล้วยังไม่ยอมคลอด แม่อันตราย ลูกเสี่ยงตาย

บทความ 3 นาที
ท้องเกิน 40 สัปดาห์ ครบกำหนดแล้วยังไม่ยอมคลอด แม่อันตราย ลูกเสี่ยงตาย

ตั้งครรภ์เกินกําหนด แม่อันตราย ลูกเสี่ยงตาย ยังไงบ้าง มาอ่านความจริงที่แม่ต้องระวัง จากคุณหมอกันค่ะ

ท้องเกิน 40 สัปดาห์

ท้องเกิน 40 สัปดาห์ มีความเสี่ยงมากมาย จากครรภ์เกินกำหนด ทั้งต่อตัวแม่เอง และยังกระทบลูกในท้อง

อายุครรภ์ ครบกำหนด กี่สัปดาห์

การตั้งครรภ์ทั่วไปสามารถคำนวณวันกำหนดคลอดที่ 40 สัปดาห์ได้โดยนับจากวันแรกของประจำเดือนครั้งล่าสุดของสตรีตั้งครรภ์ โดยมีเพียงประมาณร้อยละ 5-10 ของสตรีตั้งครรภ์เท่านั้นที่จะคลอดบุตรตรงกับวันกำหนดคลอดที่ 40 สัปดาห์

 

ท้องเกิน 40 สัปดาห์ครรภ์เกินกำหนด

ในทางการแพทย์ถือว่าคลอดครบกำหนด (term) ตั้งแต่ 37-40 สัปดาห์ จะนับเป็นการคลอดเลยกำหนดคลอด (post date) เมื่อคลอดระหว่าง 40-41 สัปดาห์ และเป็นครรภ์เกินกำหนด (post term) เมื่อคลอดหลัง 42 สัปดาห์

ขบวนการเจ็บครรภ์ตามธรรมชาติเกิดขึ้นจากหลายปัจจัย โดยเชื่อว่ามีเหตุปัจจัยมาจากความเสื่อมของรกเป็นหลัก เมื่ออายุครรภ์มากขึ้นจนเลยกำหนดจะส่งผลกระทบทั้งต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ให้มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น

  • หากการคลอดเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่เหมาะสมระหว่าง 37-41 สัปดาห์ (term+ post date) มักจะได้ผลลัพธ์ของการตั้งครรภ์ที่ดี มีความปลอดภัยทั้งมารดาและทารก
  • หากการตั้งครรภ์นั้นล่วงเลย 42 สัปดาห์ไปแล้วจึงเป็นข้อบ่งชี้ให้เร่งคลอดเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดได้ต่อไป

 

ความเสี่ยงเมื่อครรภ์เกินกำหนด

ต่อสตรีตั้งครรภ์

มีความเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นได้ เพิ่มความเสี่ยงจากการเร่งคลอด เช่น

  1. ปากมดลูกไม่พร้อม
  2. การเจ็บปวดจากการเร่งคลอด
  3. มดลูกแตก
  4. การติดเชื้อหลังคลอด
  5. เสี่ยงต่อการคลอดยาก
  6. เพิ่มโอกาสการผ่าตัดคลอดบุตร
  7. เพิ่มการตกเลือดหลังคลอด

 

ต่อทารกในครรภ์

มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นเมื่ออายุครรภ์เลย 42 สัปดาห์ มีโอกาสเสียชีวิตในครรภ์โดยไม่ทราบสาเหตุสูงขึ้น

  • เมื่อทารกมีภาวะขาดออกซิเจนจะมีการถ่ายขี้เทาออกมาปนเปื้อนในน้ำคร่ำ ทำให้น้ำคร่ำหนืดข้นขึ้นมีโอกาสสำลักน้ำคร่ำที่มีขี้เทาปนได้หลังคลอด เพิ่มอุบัติการณ์ของปอดอักเสบในเด็กแรกเกิดได้
  • เมื่อครรภ์เกินกำหนดรกอาจมีการเสื่อมสภาพจนทำงานลดลงส่งผลให้ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ได้
  • ในบางกรณีที่รกยังทำงานได้ดีทารกจะมีการโตต่อเนื่องไปทำให้มีภาวะทารกตัวโตส่งผลให้คลอดยากหรือมีการคลอดติดไหล่ได้ ซึ่งเพิ่มอุบัติการณ์ของการตายขณะคลอดของทารกได้

 

โดยสรุปการคลอดที่ครรภ์เลยกำหนดจะเพิ่มภาวะแทรกซ้อนทั้งมารดาและทารก แพทย์มักจะนัดให้มาเร่งคลอดเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ต่อไป

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

น้ำคร่ำแห้ง ระวังลูกตายไม่ก็พิการ จะป้องกันอย่างไรไม่ให้น้ำคร่ำแห้ง

ลูกตายในท้อง คำที่อาจดูแรง แต่ระวังเรื่องเหล่านี้ไว้ก่อนจะดีที่สุด

คนท้องดมควันบุหรี่ ระวังลูกตายในท้อง ไม่ก็เกิดมาพิการ

 

บทความจากพันธมิตร
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

ผศ.นพ.เมธาพันธ์ กิจพรธีรานันท์

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ท้องเกิน 40 สัปดาห์ ครบกำหนดแล้วยังไม่ยอมคลอด แม่อันตราย ลูกเสี่ยงตาย
แชร์ :
  • ตั้งครรภ์เกินกำหนด ลูกไม่ยอมคลอด จะเกิดอะไรขึ้นกับแม่และเด็ก

    ตั้งครรภ์เกินกำหนด ลูกไม่ยอมคลอด จะเกิดอะไรขึ้นกับแม่และเด็ก

  • อันตรายจากการตั้งครรภ์เกินกำหนด ที่แม่ท้องต้องระวัง

    อันตรายจากการตั้งครรภ์เกินกำหนด ที่แม่ท้องต้องระวัง

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • ตั้งครรภ์เกินกำหนด ลูกไม่ยอมคลอด จะเกิดอะไรขึ้นกับแม่และเด็ก

    ตั้งครรภ์เกินกำหนด ลูกไม่ยอมคลอด จะเกิดอะไรขึ้นกับแม่และเด็ก

  • อันตรายจากการตั้งครรภ์เกินกำหนด ที่แม่ท้องต้องระวัง

    อันตรายจากการตั้งครรภ์เกินกำหนด ที่แม่ท้องต้องระวัง

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว