X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ท้องตอนอายุมากกว่า 35 จะมีปัญหาหรือไม่

บทความ 3 นาที
ท้องตอนอายุมากกว่า 35 จะมีปัญหาหรือไม่

ผู้หญิงอายุมากกว่า 30 ปีขึ้นไปอาจประสบปัญหาเกี่ยวกับการเจริญพันธุ์หากคุณอยากมีลูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้หญิงที่อายุมากกว่า 35 ปี อาจมีปัญหาซับซ้อนหลายอย่างที่อาจเกิดอันตรายต่อแม่และลูกในครรภ์ได้

ท้องตอนอายุมากกว่า 35 จะมีปัญหาหรือไม่

คุณผู้หญิงหลายท่าน อาจจะสงสัยว่า ท้องตอนอายุมากกว่า 35 จะมีปัญหาหรือไม่ ซึ่งนั่นก็เป็นเพราะอัตราการตกไข่ของผู้หญิงอายุ 30 กว่าจะต่ำลง และขนาดของไข่จะใบเล็กลงด้วย และในระหว่างที่ไข่เปลี่ยนใบ ผู้หญิงก็จะประสบปัญหาฮอร์โมนแปรปรวน นอกจากนี้จำนวนไข่ก็จะลดน้อยลง ไข่แต่ละใบก็จะมีความแข็งแรงน้อยลงอีกด้วย ดังนั้นผู้หญิงหลาย ๆ คนจึงได้รับคำแนะนำไม่ให้มีบุตรเมื่อมีอายุมากกว่า 35 ปี

ความเสี่ยงต่ออันตรายเพิ่มขึ้นตามอายุ

แม้ว่าวิทยาการทางการแพทย์ในปัจจุบันจะก้าวหน้าไปมากจนผู้หญิงอายุมากกว่า 35 ปีสามารถตั้งครรภ์ได้อย่างปลอดภัยแล้ว หากแต่ยังมีความเสี่ยงอีกหลายประการที่เกิดขึ้นจากการตั้งครรภ์ที่ช้ากว่าที่ควรจะเป็น นอกจากนี้สุขภาพของคุณแม่และคุณลูกระหว่างตั้งครรภ์ก็จะแย่ลงตามอายุที่มากขึ้นของคุณแม่ด้วย ทางการแพทย์มีข้อพิสูจน์แล้วว่าผู้หญิงที่มีอายุ 30 กว่า ๆ จะมีโอกาสสูงที่จะคลอดบุตรที่มีข้อบกพร่องทางพันธุกรรม ซึ่งเหตุผลที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุดคือ อายุที่สูงขึ้นของคุณแม่ผู้ตั้งครรภ์ ที่ทำให้การแบ่งเซลล์ไข่ผิดปกติ

ท้องตอนอายุมากกว่า 35 จะมีปัญหาหรือไม่

ท้องตอนอายุมากกว่า 35 จะมีปัญหาหรือไม่

ปัญหาอื่น ๆ ก็อาจจะตามมา

ระหว่างตั้งครรภ์อาจมีโอกาสที่ความดันจะสูงขึ้น และอาการของโรคเบาหวานอาจกำเริบขึ้นได้ ดังนั้นผู้หญิงที่อายุมากกว่า 30 ปี ยิ่งมีความเสี่ยงเพิ่มสูงขึ้นด้วย ถ้าคุณคือผู้หญิงอายุมากกว่า 35 ปีและกำลังตั้งครรภ์อยู่ ควรรีบฝากครรภ์ตั้งแต่เนิ่น ๆ เพื่อรับการตรวจและการดูแลที่ดี

การตายคลอด (การคลอดบุตรที่เด็กเสียชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์) มีโอกาสสูงที่จะเกิดขึ้นได้กับหญิงตั้งครรภ์ที่อายุเกิน 35 ปี และผู้หญิงที่อายุมากอาจคลอดบุตรที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน หรือราวๆ 2,500 กรัม การผ่าท้องคลอดก็มักเป็นอีกวิธีคลอดบุตรวิธีหนึ่งที่หญิงตั้งครรภ์ที่อายุมากกว่า 35 ปีเลือก อย่างไรก็ดี หญิงตั้งครรภ์ควรขอคำปรึกษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ นอกจากนี้ประวัติในการคลอดบุตรจากทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิงก็อาจมีผลกระทบต่อการสุขภาพของแม่และเด็กได้ คุณแม่ควรถือโอกาสนี้เช็คสุขภาพครรภ์ และตรวจเลือด เช่น ตรวจภูมิคุ้มกันหัดเยอรมัน และตรวจมะเร็งปากมดลูก ก่อนที่คุณจะคลอดบุตร

อน่างไรก็ตาม การตั้งครรภ์ตอนอายุมาก อาจจะมีประโยชน์ในแง่ของความพร้อมและการเตรียมตัวที่ดีกว่าในการตั้งครรภ์ แต่ก็จะมีภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ได้มาก แต่หากมีความรู้ความเข้าใจ เฝ้าระวัง และให้การดูแลรักษาอย่างเหมาะสม ก็จะสามารถทำให้การตั้งครรภ์ปลอดภัยได้

บทความจากพันธมิตร
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

อาหารที่ควรเลี่ยงระหว่างตั้งครรภ์

ฝากครรภ์พิเศษ ต่างจาก ฝากครรภ์ธรรมดาอย่างไร ฝากครรภ์ต้องตรวจอะไรบ้าง

เด็กผิดท่าคลอดได้หรือไม่ ไขข้อข้องใจจากคุณหมอ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ท้องตอนอายุมากกว่า 35 จะมีปัญหาหรือไม่
แชร์ :
  • ตั้งครรภ์ 35 สัปดาห์ อาการคนท้อง และพัฒนาการของทารกในครรภ์

    ตั้งครรภ์ 35 สัปดาห์ อาการคนท้อง และพัฒนาการของทารกในครรภ์

  • คู่มือแม่ท้อง 35 อัพ

    คู่มือแม่ท้อง 35 อัพ

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • ตั้งครรภ์ 35 สัปดาห์ อาการคนท้อง และพัฒนาการของทารกในครรภ์

    ตั้งครรภ์ 35 สัปดาห์ อาการคนท้อง และพัฒนาการของทารกในครรภ์

  • คู่มือแม่ท้อง 35 อัพ

    คู่มือแม่ท้อง 35 อัพ

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว