X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ทำไมทารกไม่ควรได้รับยาปฏิชีวนะในขวบปีแรก

บทความ 3 นาที
ทำไมทารกไม่ควรได้รับยาปฏิชีวนะในขวบปีแรก

งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร British Journal of Dermatology ชี้ว่า ยาปฏิชีวนะอาจมีผลต่อความเข็งแรงระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทารก

ทำไมทารกไม่ควรได้รับยาปฏิชีวนะในขวบปีแรก

ทำไมทารกไม่ควรได้รับยาปฏิชีวนะในขวบปีแรก ? เด็กที่ได้รับยาปฏิชีวนะในขวบปีแรกของชีวิตมีแนวโน้มที่จะเกิดโรคผื่นแพ้ผิวหนัง eczema มากถึง 40% ตามการศึกษาของนักวิจัยชาวอังกฤษ

นักวิจัยกล่าวว่า ยาปฏิชีวนะที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้างก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงต่อจุลินทรีย์ในลำไส้ ที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย เมื่อระบบภูมิคุ้มกันไม่แข็งแรงจึงสามารถพัฒนาไปสู่โรคภูมิแพ้ได้

ทำไมทารกไม่ควรได้รับยาปฏิชีวนะในขวบปีแรก

ผลการวิจัยนี้ได้มาจากการศึกษางานวิจัย 20 ชิ้น ที่ศึกษาความสัมพันธ์ของการได้รับยาปฏิชีวนะก่อนและหลังคลอดและความเสี่ยงในการเกิดผื่นแพ้ผิวหนังในเวลาต่อมา

โดยงานวิจัยได้สรุปว่า พบความเชื่อมโยงอย่างมีนัยยะสำคัญระหว่างการได้รับยาปฏิชีวนะหลังคลอดกับความเสี่ยงต่อการเกิดผิวหนังในเวลาต่อมา นอกจากนี้ยังพบความเสี่ยงในการเกิดโรคผื่นแพ้ผิวหนัง eczema เพิ่มขึ้น 7% จากการได้รับจำนวนโดสของยาปฏิชีวนะเพิ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรกของชีวิตอีกด้วย ทั้งนี้ การใช้ยาปฏิชีวนะอาจเป็นผลมาจากการรักษาอาการติดเชื้อที่รุนแรงกว่าปกติในเด็กที่ผื่นแพ้ผิวหนังเช่นกัน

อย่างไรก็ตาม ผู้วิจัยไม่ได้แนะนำให้คุณพ่อคุณแม่ปฏิเสธการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ หากแพทย์รู้สึกว่าการรักษาดังกล่าวเป็นสิ่งจำเป็น แต่เป็นการศึกษาที่ให้ข้อมูลแก่คุณพ่อคุณแม่ถึงผลกระทบที่อาจตามมา เพื่อให้คุณพ่อคุณแม่หลีกเลี่ยงการใช้ยาปฏิชีวนะกับเจ้าตัวน้อยโดยไม่จำเป็นค่ะ

ที่มา www.theguardian.com

บทความที่่น่าสนใจอื่นๆ

แบบนี้แพ้หรือเปล่า!! ไข้ ผื่นหลังกินยาปฏิชีวนะ

“ให้หนูตายเถอะ” คำวิงวอนของเด็กน้อยผู้บอบช้ำจากโรคผื่นแพ้คัน eczema

 

บทความจากพันธมิตร
5 ผลเสียของ โปรไบโอติกส์ ที่แม่ท้องต้องรู้
5 ผลเสียของ โปรไบโอติกส์ ที่แม่ท้องต้องรู้
หมอสูติฯ เตือน ไม่อยากให้ ลูกป่วยบ่อย แม่ป้องกันได้ตั้งแต่เตรียมตัวตั้งครรภ์
หมอสูติฯ เตือน ไม่อยากให้ ลูกป่วยบ่อย แม่ป้องกันได้ตั้งแต่เตรียมตัวตั้งครรภ์
ลูกเป็นผื่น แดง คัน ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง ผิวแพ้ง่าย แชร์วิธีรักษาง่ายๆ ด้วยวิธีที่ปลอดภัยแบบไม่ต้องพึ่งสเตียรอยด์
ลูกเป็นผื่น แดง คัน ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง ผิวแพ้ง่าย แชร์วิธีรักษาง่ายๆ ด้วยวิธีที่ปลอดภัยแบบไม่ต้องพึ่งสเตียรอยด์
แม่รู้มั้ย ป้องกันลูกเป็น โรคภูมิแพ้ เริ่มต้นจากบ้านสะอาด อากาศสดชื่น ปราศจากฝุ่น และไวรัส
แม่รู้มั้ย ป้องกันลูกเป็น โรคภูมิแพ้ เริ่มต้นจากบ้านสะอาด อากาศสดชื่น ปราศจากฝุ่น และไวรัส

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิริลักษณ์ อุทยารัตน์

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • ทำไมทารกไม่ควรได้รับยาปฏิชีวนะในขวบปีแรก
แชร์ :
  • ชวนแม่มือใหม่มาเรียนรู้ ร่างกายทารก ลูกของคุณแม่เป็นแบบนี้หรือเปล่านะ

    ชวนแม่มือใหม่มาเรียนรู้ ร่างกายทารก ลูกของคุณแม่เป็นแบบนี้หรือเปล่านะ

  • แบบนี้แพ้หรือเปล่า!! ไข้ ผื่นหลังกินยาปฏิชีวนะ

    แบบนี้แพ้หรือเปล่า!! ไข้ ผื่นหลังกินยาปฏิชีวนะ

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • ชวนแม่มือใหม่มาเรียนรู้ ร่างกายทารก ลูกของคุณแม่เป็นแบบนี้หรือเปล่านะ

    ชวนแม่มือใหม่มาเรียนรู้ ร่างกายทารก ลูกของคุณแม่เป็นแบบนี้หรือเปล่านะ

  • แบบนี้แพ้หรือเปล่า!! ไข้ ผื่นหลังกินยาปฏิชีวนะ

    แบบนี้แพ้หรือเปล่า!! ไข้ ผื่นหลังกินยาปฏิชีวนะ

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว