X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

คำถามยอดฮิต การปั๊มนมแม่

บทความ 5 นาที
คำถามยอดฮิต การปั๊มนมแม่

แม่มือใหม่มีคำถามมากมายอยู่ในหัว ทั้งเรื่องการปั๊มนม วิธีอุ่นนมแม่ และการทำสต็อกนมแม่ มาดูคำถามที่แม่ๆ ถามบ่อย พร้อมคำตอบกันดีกว่า

1.วิธีอุ่นน้ำนมแม่ ใช้น้ำร้อนได้ไหม

การปั๊มนมแม่ ถ้าแม่อยากให้ลูกได้ดื่มน้ำนมอุ่นๆ ให้นำขวดนมมาวางในหม้อหรือภาชนะที่ใส่น้ำอุ่นเอาไว้ (นำน้ำร้อนผสมกับน้ำอุณหภูมิปกติ) โดยที่ไม่ให้น้ำนมสัมผัสกับความร้อนโดยตรง เพราะจะทำให้สูญเสียคุณค่าสารอาหาร ทำลายเซลล์มีชีวิตที่อยู่ในนมแม่ได้

แต่หากเป็นนมแช่แข็ง ให้เอามาใส่ตู้เย็นช่องธรรมดาสัก 1 คืน พอเริ่มละลายแล้ว ให้เอานมออกจากตู้เย็นช่องธรรมดา วางไว้ในห้องราวๆ 1 ชั่วโมง ก็จะทานได้ ซึ่งน้ำนมที่เก็บในถุงเก็บนมจะละลายได้เร็ว

ข้อห้าม

– ห้ามเอานมแม่ที่แช่แข็งมาวางไว้ในอุณหภูมิห้องทันที

– ห้ามอุ่นนมแม่ด้วยไมโครเวฟเด็ดขาด

– ห้ามนำน้ำนมที่อุ่นแล้วเหลือ กลับไปแช่เย็นให้ลูกกินภายหลัง

การปั๊มนมแม่

การปั๊มนมแม่

2.ถ้าปั๊มนมแล้ว ยังจะให้นมลูกทั้งสองข้าง ทุกครั้งที่ลูกเข้าเต้าหรือไม่

ในการให้นมลูกแต่ละครั้ง เป็นเรื่องดีถ้าคุณแม่จะให้ลูกได้ดูดกับเต้าทั้ง 2 ข้าง ลองปล่อยให้ลูกดูดเสร็จจากข้างหนึ่ง ก่อนจะลองให้ลูกดูดจากอีกข้าง ถึงลูกจะดูด หรือไม่ดูดอีกข้างหนึ่งก็ไม่ใช่ปัญหา ถ้าลูกไม่ดูดก็ไม่จำเป็นต้องปั๊มนม แค่ครั้งต่อไป ให้ลูกดูดจากข้างที่ไม่ได้ดูดในครั้งที่แล้ว

หรือลองสลับเต้าให้ลูกดูดกับเต้าที่จะปั๊ม ยกตัวอย่าง แม่ปั๊มน้ำนมข้างซ้ายออกประมาณ 10-15 นาที พอลูกตื่นให้ดูดข้างขวาจนลูกดูดเสร็จ แล้วลองให้ลูกดูดข้างซ้ายต่อจนลูกดูดเสร็จ แล้วแม่ค่อยปั๊มน้ำนมข้างขวาเพื่อกระตุ้น สัก 2-3 นาที

3.เอานมที่แช่เย็นในช่องธรรมดามา 2-3 วัน ย้ายไปแช่ช่องแข็งได้หรือเปล่า

ถ้าคุณแม่รู้อยู่แล้วว่าจะไม่ได้ให้ลูกดื่มทันที ควรจะแช่ช่องแข็งตั้งแต่แรก นับง่าย ๆ ว่า ถ้าต้องใช้ใน 8 วัน ให้แช่ช่องปกติ ถ้าจะแช่ช่องแข็งต้องแช่ภายใน 24-48 ชั่วโมงหลังปั๊ม แล้วอย่าลืมเขียนวันเวลาปั๊มนม

สำหรับช่องแข็งควรแช่นมไว้ด้านในลึก ๆ ให้เย็นที่สุด หลีกเลี่ยงการวางไว้ตรงช่องประตูตู้เย็น โดยตู้เย็นประตูเดียว เก็บนมได้ 1 เดือน ส่วนตู้เย็น 2 ประตู เก็บได้ 2-3 เดือน และถ้าเลือกแช่นมสต๊อกไปแล้ว ก็ไม่ควรแช่ร่วมกับอาหารอื่น ๆ

การปั๊มนมแม่

การปั๊มนมแม่

4.ปั๊มนมบ่อยแค่ไหน ลูกถึงจะพอกิน

แม่ๆ ลองกำหนดปริมาณน้ำนม ที่ควรปั๊มให้ได้ใน 24 ชั่วโมง กรณีที่ลูกดูดนม 8 ครั้งต่อวัน อาจราวๆ 3 ออนซ์ต่อ 1 มื้อทุก 3 ชั่วโมง (24/8 =3 ออนซ์) โดยภายใน 7-10 วันแรกหลังคลอด ควรมีปริมาณน้ำนม 25-27 ออนซ์ (750-800 มล.) ที่สำคัญคือ ถ้าแม่ปั๊มนมได้บ่อย ร่างกายก็จะผลิตน้ำนมออกมาได้มาก

อย่างไรก็ตาม ทารกแรกเกิดจะดื่มนมราว 1-2 ออนซ์ (30-60 มล.) ต่อมื้อและเมื่ออายุได้ 4-5 สัปดาห์ ทารกจะดื่มได้มากที่สุดคือ 3-4 ออนซ์ (90-120 มล.) ต่อมื้อและราว 30 ออนซ์ (900 มล.) ต่อวัน ทั้งนี้ ร่างกายของ คุณแม่ผลิตน้ำนมมากในช่วงกลางวัน และ ทารกมักดื่มนมมากที่สุดในตอนบ่าย หรือช่วงเย็น จึงควรจะปั๊มนมช่วงหนึ่งหรือครึ่งชั่วโมงก่อนที่ ลูกจะดื่มมื้อแรก

5.ถ้าแม่ต้องกลับไปทำงาน ควรวางแผนทำนมสต๊อกอย่างไร

หากรู้ตัวว่าต้องกลับไปทำงานต้องรีบทำนมสต๊อกให้เร็วที่สุด ซึ่งช่วงเวลาที่ดีที่สุดของการปั๊มนมคือ ช่วงเช้าตรู่ 05.00-06.00 น. เป็นช่วงเวลาที่ร่างกายของคุณแม่ผลิตน้ำนมได้มากที่สุด แต่ในระหว่างวัน แม่ก็สามารถปั๊มนมได้นะ เช่น ตอนลูกดูดนมอยู่ แม่สามารถปั๊มนมอีกข้างที่ลูกไม่ดูดประมาณ 15 นาที แล้วค่อยมาปั๊มข้างที่ลูกดูด 2-3 นาที นอกจากนี้ ในระหว่างวันแม่สามารถปั๊มนมเก็บได้ ด้วยการปั๊มนมต่อ 10-15 นาทีหลังลูกดูดเสร็จแต่ละมื้อ วิธีนี้จะทำให้ร่างกายรู้ว่าต้องผลิตน้ำนมเพิ่ม

เมื่อไปทำงานแล้ว ระหว่างทำงานควรปั๊มนมทุก 3 ชั่วโมง ทำทุกวัน แล้วเก็บใส่ถุงซิปแช่ตู้เย็น ตอนกลับบ้านก็ใส่มาในกระติกแช่แข็ง

6.เลือกเครื่องปั๊มนมแบบไหนดี

เครื่องปั๊มนมมีอยู่หลายแบบ แม่เลือกได้ตามความต้องการ แต่แม่ต้องซื้อเครื่องปั๊มนมที่ผลิตจากบริษัทที่น่าเชื่อถือ และ มีการรับประกันสินค้า

– เครื่องปั๊มนมแบบใช้มือ ราคาไม่แพงแต่แม่ต้องใช้มือช่วยให้เครื่องทำงาน ใช้เวลานานกว่าจะได้น้ำนมที่เพียงพอ

– เครื่องปั๊มนมไฟฟ้า ราคาสูงแต่สะดวก ดีสำหรับแม่ที่ใช้บ่อย ๆ เพราะสะดวกและรวดเร็ว

การปั๊มนมแม่

การปั๊มนมแม่

ที่มา : thebump.com , https://www.thebump.com

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

รับมือ 4 อาการผิดปกติของเต้านมที่ต้องเจอระหว่างให้นมลูก

โปรตีนในน้ำนมแม่ คุณแม่ต้องรู้ !

บทความจากพันธมิตร
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

Tulya

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • คำถามยอดฮิต การปั๊มนมแม่
แชร์ :
  • 5 ปัญหาที่พบบ่อย เรื่องการปั๊มนมของคุณแม่

    5 ปัญหาที่พบบ่อย เรื่องการปั๊มนมของคุณแม่

  • ให้นมแม่ ดีอย่างไร?

    ให้นมแม่ ดีอย่างไร?

  • อยากให้ลูกสูง 180 เป็นไปได้ไหมถ้าพ่อแม่ไม่สูง พร้อมสูตรทำนายส่วนสูงลูก

    อยากให้ลูกสูง 180 เป็นไปได้ไหมถ้าพ่อแม่ไม่สูง พร้อมสูตรทำนายส่วนสูงลูก

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • 5 ปัญหาที่พบบ่อย เรื่องการปั๊มนมของคุณแม่

    5 ปัญหาที่พบบ่อย เรื่องการปั๊มนมของคุณแม่

  • ให้นมแม่ ดีอย่างไร?

    ให้นมแม่ ดีอย่างไร?

  • อยากให้ลูกสูง 180 เป็นไปได้ไหมถ้าพ่อแม่ไม่สูง พร้อมสูตรทำนายส่วนสูงลูก

    อยากให้ลูกสูง 180 เป็นไปได้ไหมถ้าพ่อแม่ไม่สูง พร้อมสูตรทำนายส่วนสูงลูก

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ