X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

กินยาพาราเซตามอลมากเกินไปมีผลต่อลูกในท้อง

บทความ 3 นาที
กินยาพาราเซตามอลมากเกินไปมีผลต่อลูกในท้อง

งานวิจัยเมื่อเร็วๆ นี้ของ Oxford University Press ตีพิมพ์ใน International Journal of Epidemiology เผยการค้นพบน่าตกใจ เมื่อยาพาราเซตามอลที่จัดว่าเป็นยาที่ปลอดภัยสำหรับแม่ท้องกลับมีความสัมพันธ์กับโรคออทิสติกและสมาธิสั้นในเด็กเมื่อรับประทานมากเกินไปขณะตั้งครรภ์

ยาพาราเซตามอล คนท้อง

คนท้องกินยาพาราเซตามอลมากเกินไปอันตรายอย่างไร

คณะวิจัยได้ทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ยาในขณะตั้งครรภ์กับกลุ่มอาการออทิสติกในเด็ก โดยงานวิจัยชิ้นนี้ยังเป็นการศึกษาแรกที่รายงานถึงผลกระทบที่แตกต่างกันในเด็กชายและเด็กหญิง โดยพบว่า  คุณแม่ที่ได้รับยาพาราเซตามอลมากเกินไปขณะตั้งครรภ์ มีความเสี่ยงที่ “ลูกชาย”จะปัญหาในเรื่องความตั้งใจและสมาธิ รวมถึงเสี่ยงที่จะมีอาการในกลุ่มออทิสติกมากกว่าเด็กที่ไม่ได้รับยาขณะที่แม่ตั้งครรภ์ถึง 30 %

วิธีการศึกษา

นักวิจัยได้รับสมัครคุณแม่จำนวน 2644 คนที่ตั้งครรภ์ในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน โดยคุณแม่ผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการประเมินเมื่อลูกมีอายุ 1 ปี และ 5 ปี ทั้งนี้คุณแม่ต้องตอบคำถามเกี่ยวกับการใช้ยาพาราเซตามอลขณะตั้งครรภ์ และความถี่ในการใช้ ซึ่งแบ่งเป็น ไม่เคย, ใช้เป็นครั้งคราว และ ใช้เป็นประจำ แต่ไม่ได้ระบุปริมาณการใช้ยาเนื่องจากคุณแม่จำปริมาณที่รับประทานไม่ได้

สิ่งที่ค้นพบจากการศึกษาครั้งนี้

ผลการวิจัยพบว่า 43% ของเด็กที่ได้รับการประเมินในช่วง  1 ขวบ และ 41% ของเด็กที่ได้รับการประเมินในช่วง 5 ขวบ ได้รับยาพาราเซตามอลในช่วง 32 สัปดาห์แรกที่แม่ตั้งครรภ์

จากการประเมินในเด็ก 5 ขวบที่ได้รับยาพาราเซตามอลขณะที่แม่ตั้งครรภ์ พบว่ามีความเสี่ยงสูงที่จะมีอาการสมาธิสั้นและหุนหันพลันแล่น นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กที่แม่รับประทานยาพาราเซตามอลขณะตั้งครรภ์เป็นประจำ เมื่อทำการทดสอบในเรื่องของ สมาธิ ความหุนหันพลันแล่น และความสามารถทางการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นได้อย่างรวดเร็ว ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ พบว่าเด็กกลุ่มนี้ได้คะแนนที่ต่ำกว่า และเด็กผู้ชายแสดงอาการในกลุ่มออทิสติกมากกว่า ส่วนอาการสมาธิสั้นนั้นสามารถพบได้ทั้งในเด็กชายและเด็กหญิง

Claudia Avella-Garcia หัวหน้านักวิจัย อธิบายว่า แม้สิ่งที่ทีมวิจัยทำนั้นเป็นเพียงการประเมินอาการ โดยไม่ได้ทำการวินิจฉัยโรค แต่อาการที่เด็กๆ เป็นนั้น ส่งผลกระทบต่อพวกเขา แม้จะไม่รุนแรงมากพอที่จะต้องได้รับการวินิจฉัยทางคลินิกถึงโรคทางระบบประสาทก็ตาม

ผลของยาพาราเซตามอลต่อระบบประสาท

Jordi Júlvez หนึ่งในทีมนักวิจัยได้กล่าวถึงความเป็นไปได้ของยาพาราเซตามอลที่มีต่อระบบประสาทว่า ยาพาราเซตามอลอาจเป็นอันตรายต่อระบบประสาทได้

  1. เป็นยาใช้บรรเทาอาการปวด โดยทำหน้าที่เป็น ตัวรับสาร Cannabinoids ในสมอง ที่โดยปกติแล้วจะช่วยให้เซลล์ประสาทเชื่อมต่อกันได้ดี แต่ยาพาราเซตามอลจะเข้าไปเปลี่ยนกระบวนการเหล่านี้
  2. ยาพาราเซตามอลยังส่งผลกระทบต่อการพัฒนาระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย หรืออาจเป็นพิษโดยตรงต่อทารกในครรภ์ ที่อาจยังไม่มีความสามารถในการเผาผลาญยาชนิดนี้ได้ดีเท่าผู้ใหญ่ หรือทำให้อนุมูลอิสระเข้าไปทำลายระบบต่างๆ ภายในเซลล์ของสิ่งที่มีชีวิต ทำให้เซลล์เมมเบรนเสียหายและไม่สามารถทำหน้าที่ได้เหมือนปกติ

 

บทความจากพันธมิตร
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?

ผลการศึกษาสรุปได้ว่า การที่ทารกในครรภ์ได้รับยาพาราเซตามอลเป็นประจำ สามารถเพิ่มความเสี่ยงสมาธิสั้นหรือมีอาการกลุ่มออทิสติกในเด็ก อย่างไรก็ตามในการศึกษาต่อไปควรมีการวัดปริมาณยาที่ได้รับ เพื่อผลที่แม่นยำมากขึ้น และควรมีการประเมินถึงความเสี่ยงและประโยชน์จากการใช้ยาพาราเซตามอลก่อนที่จะตัดสินใจใช้ยาค่ะ

ที่มา www.sciencedaily.com

ยาสามัญที่เป็นอันตรายต่อลูกในครรภ์

ภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ที่แม่ท้องไม่ควรมองข้าม

TAP mobile app

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

สิริลักษณ์ อุทยารัตน์

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • กินยาพาราเซตามอลมากเกินไปมีผลต่อลูกในท้อง
แชร์ :
  • ท้องแล้วฟันผุ มีผลต่อลูกในท้องจริงหรือ?

    ท้องแล้วฟันผุ มีผลต่อลูกในท้องจริงหรือ?

  • กินเผ็ดมีผลต่อลูกในท้องไหม คนท้องกินเผ็ดได้ไหม และอันตรายกับลูกหรือเปล่า?

    กินเผ็ดมีผลต่อลูกในท้องไหม คนท้องกินเผ็ดได้ไหม และอันตรายกับลูกหรือเปล่า?

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ท้องแล้วฟันผุ มีผลต่อลูกในท้องจริงหรือ?

    ท้องแล้วฟันผุ มีผลต่อลูกในท้องจริงหรือ?

  • กินเผ็ดมีผลต่อลูกในท้องไหม คนท้องกินเผ็ดได้ไหม และอันตรายกับลูกหรือเปล่า?

    กินเผ็ดมีผลต่อลูกในท้องไหม คนท้องกินเผ็ดได้ไหม และอันตรายกับลูกหรือเปล่า?

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว