X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

กินยาไม่ครบ ทำลูกน้อยป่วยเป็นโรคดื้อยา อาจอันตรายถึงชีวิต

บทความ 3 นาที
กินยาไม่ครบ ทำลูกน้อยป่วยเป็นโรคดื้อยา อาจอันตรายถึงชีวิตกินยาไม่ครบ ทำลูกน้อยป่วยเป็นโรคดื้อยา อาจอันตรายถึงชีวิต

กินยาไม่ครบ ทำลูกน้อยป่วยเป็นโรคดื้อยา อาจอันตรายถึงชีวิต เป็นอีกหนึ่งโรคที่มองข้ามไม่ได้นะคะ เพราะเรื่องที่เกิดขึ้นอาจจะทำให้ต้องเสียใจไปตลอดชีวิต

กินยาไม่ครบ ทำลูกน้อยป่วยเป็นโรคดื้อยา อาจอันตรายถึงชีวิต

ปกติเเล้วการเกิดโรคดื้อยาจะพบน้อยในเด็กเล็กๆ เเต่ทุกวันนี้นั้นหาก กินยาไม่ครบ ทำลูกน้อยป่วยเป็นโรคดื้อยา อาจอันตรายถึงชีวิต

MRSA คืออะไร

ส่วนใหญ่เเล้วคนที่จะเป็นโรคดื้อยา หรือ Methicillin Resistant Staphylococcus Aureus เรียกย่อๆ ว่า MRSA จะต้องเป็นผู้ป่วยเรื้อรังหรือคนที่ต้องนอนในโรงพยาบาลอยู่นานค่ะ โดยเฉพาะผู้ป่วยหนัก ผู้ป่วยสูงอายุ ผู้ป่วยแผลกดทับ และผู้ป่วยที่ต้องใช้สายสวนปัสสาวะหรือสายให้น้ำเกลือและยาทางหลอดเลือด

การติดเชื้อ MRSA ในโรงพยาบาลมักจะรุนแรง ปัจจัยที่ทำให้พบการติดเชื้อ MRSA ในโรงพยาบาลมากขึ้น ได้แก่ การที่ผู้ป่วยต้องนอนโรงพยาบาลเป็นเวลานานหลายวัน การใช้ยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์กว้างขวาง การเข้ารับการดูแลในหออภิบาลผู้ป่วยหนัก (ICU) คลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อ MRSA ในผู้ป่วยหลังผ่าตัด และผู้ที่เป็นพาหะมีเชื้อ MRSA ในโพรงจมูก โดยการติดเชื้อ MRSA นอกโรงพยาบาลก็เป็นไปได้เช่นกันโดยมาจากการติดเชื้อที่ผิวหนัง

เด็กเล็กๆ ก็เป็นได้เหรอ

มีข่าวที่เกิดขึ้นจากการติดเชื้อ MRSA ของเด็กทารกเเรกเกิด ที่เพิ่งเกิดมาได้เพียงเเค่ 36 ชั่วโมงเท่านั้นค่ะ ผิวหนังจะเป็นด่านแรกที่เชื้อโรคชนิดนี้จะเข้าไปสัมผัสถึง เพราะผิวหนังเปรียบเสมือนประตูบานแรกที่จะเปิดรับผู้คนที่มาเยี่ยมเยือน อย่างเช่นเชื้อโรคชนิดนี้ผู้ป่วยอาจจะได้รับโดยไม่ตั้งใจ ซึ่งอาการเริ่มแรกที่เชื้อนี้ไปทำปฏิกิริยากับผิวหนัง ก็จะทำให้ผิวหนังเป็นแผลผุพอง ลักษณะคล้ายกับฝี

ที่สำคัญเชื้อโรคชนิดนี้ไม่เพียงแต่เกิดที่บริเวณผิวหนังเท่านั้น แต่ยังสามารถไปติดเชื้อกับอวัยวะส่วนอื่นของร่างกายได้ ไม่ว่าจะเป็นบริเวณ จมูก ก้น หรือในเม็ดเลือดขาว เป็นต้น ซึ่งลักษณะอาการแบบนี้จะไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้ในเบื้องต้นว่าติดเชื้อ MRSA หรือไม่ แพทย์จะต้องทำการเจาะเลือดเพื่อไปทดสอบจึงจะสามารถทราบผลได้ เพราะฉะนั้นผู้ที่มีอาการผิวหนังเป็นแผลหรือเป็นฝีควรจะรีบไปพบแพทย์เพื่อทำการรักษาโดยด่วน

เเต่อย่างไรก็ตามไม่ใช่เคสที่เกิดขึ้นในเด็กเล็กไม่ใช่เคสที่เกิดขึ้นได้บ่อย นอกจากนี้การป้องกันไม่ให้ลูกในวัยทารกเป็นโรค MRSA ก็ช่วยได้มากค่ะ

อาการของโรค

  • เจ็บบริเวณต่างๆ เเละผิวบริเวณนั้นมีอาการเเดงปวม เเละ/หรือ มีหน่อง
  • มีไข้ไม่สบาย เเละอาจจะท้องเสียร่วมด้วย
  • มีการติดเชื้อบริเวณผิวหนังต่อๆ กัน ทั้งที่โรงเรียนจากเด็กไปสู่เด็กคนอื่นๆ หรือที่บ้าน จากผู้ใหญ่สู่ผู้ใหญ่หรือเด็ก ในเวลาไล่เลี่ยกัน
  • หากมีเเผล เเละเเผลไม่หายสักที เรื้อรัง เเละเป็นมากขึ้น

ป้องกันโรค MRSA

  • ล้างมือให้สะอาด ฟอกสบู่อย่างน้อย 20 วินาที หรือล้างมือด้วยเจลล้างมือก็ได้ค่ะ
  • หากมีเเผลหรือเเผลถลอกควรติดพลาสเตอร์จนกว่าจะหาย
  • อย่าใช้ของส่วนตัวร่วมกับคนอื่น เช่น ผ้าเช็ดตัว เสื้อผ้า
  • หากเจ็บป่วยควรกินยาตามที่เเพทย์สั่งให้หมด ยกเว้นตัวยาที่เเพทย์บอกว่าไม่จำเป็นต้องกินให้หมดค่ะ

ที่มา WebMD kidshealth ผู้จัดการออนไลน์ เเละ ศูนย์ข้อมูลโรคติดเชื้อเเละพาหะนำโรค

บทความที่น่าสนใจ

เมื่อลูกเป็นโรคแพ้อาหารทุกอย่าง ฝันร้ายที่ต้องผ่านไปให้ได้เพื่อลูก

3 วิธีช่วยแม่แก้ปัญหาเมื่อลูกน้อยมี ภาวะท้องอืดในทารก

parenttown

บทความจากพันธมิตร
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • กินยาไม่ครบ ทำลูกน้อยป่วยเป็นโรคดื้อยา อาจอันตรายถึงชีวิต
แชร์ :
  • เด็กท้องเสีย ทำอย่างไรดี? ลูกถ่ายเหลว มีสาเหตุจากอะไร รักษาอย่างไรได้บ้าง?

    เด็กท้องเสีย ทำอย่างไรดี? ลูกถ่ายเหลว มีสาเหตุจากอะไร รักษาอย่างไรได้บ้าง?

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

  • ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

    ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

app info
get app banner
  • เด็กท้องเสีย ทำอย่างไรดี? ลูกถ่ายเหลว มีสาเหตุจากอะไร รักษาอย่างไรได้บ้าง?

    เด็กท้องเสีย ทำอย่างไรดี? ลูกถ่ายเหลว มีสาเหตุจากอะไร รักษาอย่างไรได้บ้าง?

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

  • ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

    ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ