X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ท้องแข็งเป็นก้อน ท้องน้อยแข็ง แบบนี้อันตรายไหม ลดอาการท้องแข็งได้อย่างไร

บทความ 5 นาที
ท้องแข็งเป็นก้อน ท้องน้อยแข็ง แบบนี้อันตรายไหม ลดอาการท้องแข็งได้อย่างไร

อาการท้องแข็งเป็นก้อนเป็นสิ่งที่ต้องเกิดกับคนท้องทุกคน หากเกิดอาการท้องแข็งเป็นก้อนถี่ๆ นอนพักแล้วค่อยๆหาย ก็เป็นสัญญาณเตือนว่าใกล้คลอดแล้ว แต่หากเกิดขึ้นกับคนที่อายุครรภ์น้อยกว่า 5 เดือนถือว่าเป็นอันตรายเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด!

อาการ ท้องแข็งเป็นก้อน คืออาการที่คุณแม่ จะรู้สึกเจ็บ หน่วง ๆ ตึง ๆ บริเวณท้องน้อย หัวหน่าว หรือ มดลูก ในระหว่างที่กำลังตั้งครรภ์ โดยอาการก็จะคล้าย ๆ กับตอนปวดประจำเดือน คุณแม่ท้องจะรู้สึกเหมือนมดลูกแข็ง และเกร็งเป็นก้อนกลมขึ้นมาทันที และ “ท้องแข็ง” ท้องน้อยแข็ง ทั้งหมด ไม่ได้แข็งเป็นบางจุดเหมือนตอนที่ลูกขยับตัว เนื่องจากมดลูกขยายตัวขึ้น และขาดเลือดไปหล่อเลี้ยงทำให้มดลูกบีบ หด รัดตัว เกิดขึ้นได้บ่อยกับคนท้องประมาณช่วงสัปดาห์ที่ 32 หรือในไตรมาสที่สาม ของการตั้งครรภ์ขึ้นไป

ท้องแข็งเป็นก้อน

ท้องแข็งเป็นก้อนเกิดจากอะไร

 

มีก้อนแข็งในท้อง ท้องแข็งเป็นก้อนเกิดจากอะไร

  • ลูกดิ้นไปถูกมดลูก ทำให้เกิดการบีบตัว
  • กินอิ่มมากเกินไป จนเกิดแก๊สในกระเพาะ
  • ทำงานหนัก พักผ่อนน้อย
  • เปลี่ยนท่า ลูก นั่ง นอนเร็วเกินไป
  • กลั้นปัสสาวะ
  • มีเซ็กส์แบบผาดโหน

อาการท้องแข็ง สามารถเกิดขึ้นได้วันละหลายครั้ง แต่โดยปกติแล้ว หากรู้สึกไม่เกิน 6 – 10 ครั้งต่อวัน ก็เรียกได้ว่าเป็นเรื่องปกติ ไม่มีอะไรต้องกังวล แต่หากอากาดังกล่าว เกิดกับคนท้องที่อายุครรภ์ยังไม่ถึง 5 เดือน ท้องแข็งถี่ ๆ บ่อยครั้ง หรือท้องแข็งเป็นเวลานาน แม้นอนพักแล้ว ก็ยังไม่หาย หรือมีเลือดออกร่วมด้วย อย่าทิ้งไว้นาน ถือว่าอันตรายมาก ๆ ควรรีบไปพบแพทย์โดยด่วน เพราะอาจทำให้ปากมดลูกเปิดมากเกินไป มีโอกาสคลอดก่อนกำหนด หรือเสี่ยงต่อการแท้งได้

ท้องแข็งเป็นก้อน

ตั้งครรภ์ ท้องแข็งเป็นก้อน อันตรายไหม

Advertisement

ลดอาการท้องแข็ง ต้องทำอย่างไร

  1. ระมัดระวังในการลุก นั่ง นอน ให้ทำอย่างช้า ๆ อย่าเปลี่ยนท่าเร็วเกินไป และต้องพักผ่อนมาก ๆ
  2. อย่ากลั้นปัสสาวะ เพราะการกลั้นปัสสาวะ จะทำให้กระเพาะปัสสาวะที่โดนเบียดอยู่แล้ว ทำงานหนักขึ้น จนอักเสบ เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
  3. งดมีเซ็กส์ เพราะจะทำให้ปากมดลูกถูกกระตุ้น ส่งผลให้มดลูกเกิดการบีบตัวเช่นกัน และน้ำอสุจิก็เป็นอีกตัวการหนึ่ง ที่เร่งให้ปากมดลูกเปิดเร็วขึ้น
  4. อย่าบิดขี้เกียจบ่อยนัก เพราะทำให้มดลูกหดรัดตัว ทำปากมดลูกเปิดได้ง่าย
  5. อย่าจับท้องบ่อย เพราะช่วงตั้งท้อง กล้ามเนื้อบริเวณมดลูกจะค่อนข้างอ่อนไหวการจับ การคลำท้องบ่อย ๆ ในช่วงนี้ จึงทำให้กล้ามเนื้อมดลูกแข็งเป็นก้อนขึ้นมาได้ ยิ่งคลำบ่อย มดลูกหดบ่อย ท้องก็ยิ่งแข็งบ่อยตามไปด้วย อันตรายนะเออ
  6. อย่ายุ่งกับหัวนม ไม่ว่าจะดูด จับ บี้ เสียดสี ถูไถ นวดเฟ้น หรือดึง ช่วงท้อง หน้าอกจะขยายตัวมีความ คัด ตึงและไวต่อสัมผัสไม่ต่างจากมดลูก การสัมผัสแตะต้องหัวนม จะเป็นการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างฮอร์โมน ทำให้มดลูกเกิดการบีบตัวได้เช่นกัน
  7. กินผักผลไม้ให้มากขึ้น ลดการกินเนื้อสัตว์ เพื่อไม่ให้เกิดแก็สในกระเพาะ และขับถ่ายง่าย
  8. อย่าหักโหมทำงานหนัก แม้ความเชื่อของคนโบราณจะบอกว่า ทำงานหนักทำให้คลอดง่าย แต่ถ้าอยู่ในช่วงที่ “ท้องแข็งถี่ ๆ” แล้วล่ะก็ ต้องพักผ่อนให้มาก เพื่อความปลอดภัยของลูกในท้อง

อย่างไรก็ตามถ้าคุณแม่ท้อง ต้องหมั่นสังเกตตัวเอง หากรู้สึกไม่สบายใจกับอาการท้องแข็ง ก็อย่าชะล่าใจ อย่าทิ้งไว้นาน ต้องรีบไปพบแพทย์ กังวลไว้ก่อน ก็ดีกว่านิ่งนอนใจ จนเกิดอันตรายต่อลูกในท้องนะคะ

ท้องแข็งเป็นก้อน

คลายข้อสงสัย ท้องแข็งมาก เสี่ยงแท้งไหม

 

_________________________________________________________________________________________

ลงทะเบียนรับการดูแลตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ กับ theAsianparent Thailand ตั้งแต่ช่วงไตรมาสแรก มาติดตามพัฒนาการของลูกอย่างใกล้ชิด ว่าลูกโตขึ้นแค่ไหนกันนะ ไตรมาสที่ 2 มาฟังเสียงลูกน้อย นับว่าหนึ่งวันลูกดิ้นไหมนะ และ ลูกดิ้นวันละกี่ครั้งด้วยแอพพลิเคชั่น theAsianparent Thailand นี่เป็นแค่ตัวอย่างกิจกรรมบนแอพพลิเคชั่นในส่วนแรก เพราะคุณแม่จะได้รับการดูแล ทั้งอาหารการกิน โดยการออกแบบจากผู้เชี่ยวชาญว่าควรทานอะไรบ้างในแต่ช่วงอายุครรภ์ ยาที่เป็นอันตรายชนิดไหนบ้าง ที่ไม่ควรทาน กิจกรรมใดบ้างที่ทำได้ หรือทำไม่ได้ เคล็ดลับการตั้งชื่อลูกอย่างไรให้เป็นมงคล ทั้งเด็กหญิง และเด็กชาย รวมถึงเตรียมแผนการล่วงหน้าถึงอนาคต การเตรียมคลอด การดูแลตนเองหลังคลอด ที่ครอบคลุมทุกช่วงเวลาที่คุณแม่ต้องการ

ขอบคุณข้อมูลจาก : www.lamaze.org

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

ตารางน้ำหนัก และขนาดของทารกในครรภ์ ที่จะบอกว่าลูกในท้องแข็งแรงดีแค่ไหน

การเพิ่มน้ำหนักตัวระหว่างตั้งครรภ์ ทำอย่างไรไม่ให้อ้วนไปทั้งแม่ ทั้งลูก

ลูกไม่ดิ้นกี่ชั่วโมงต้องไปหาหมอ ลูกดิ้นกี่ครั้งต่อวัน ลูกไม่ดิ้น อันตรายแค่ไหน

parenttown

บทความจากพันธมิตร
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
4 อาการคนท้อง  ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
4 อาการคนท้อง ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

daawchonlada

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ท้องแข็งเป็นก้อน ท้องน้อยแข็ง แบบนี้อันตรายไหม ลดอาการท้องแข็งได้อย่างไร
แชร์ :
  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว