X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม วัดจากฐานเงินเดือน ยิ่งสูงยิ่งจ่ายเยอะ

12 Jun, 2018
เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม วัดจากฐานเงินเดือน ยิ่งสูงยิ่งจ่ายเยอะ

เตรียมตัวไว้เลย! ประกันสังคม เล็งเก็บเงินสมทบเข้ากองทุน ฐานเงินเดือน 2 หมื่นบาท ก็จ่ายสมทบ 1 พันบาท

เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม

เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม ยิ่งเงินเดือนสูง ก็ยิ่งต้องจ่ายมาก พ่อแม่เตรียมตัวเตรียมใจเอาไว้เลย! หากมีผู้ประกันตนเห็นด้วยเกินร้อยละ 80 คิดว่าน่าจะสามารถเดินหน้าต่อไป

 

ประกันสังคมเล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนเก็บเงินสมทบ

จากกรณี สำนักงานประกันสังคมจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น เรื่องการปรับฐานค่าจ้างที่ใช้ในการคำนวณเงินสมทบ ของผู้มีส่วนได้เสีย นายจ้าง และผู้ประกันตน รวมไปถึงการับฟังความคิดเห็นผ่านทางเว็บไซต์ของสำนักงานประกันสังคม และกระทรวงแรงงาน เรื่องการปรับฐานเพดานค่าจ้างจาก 15,000 บาท เป็น 20,000 บาท โดยเก็บเงินสมทบในอัตราร้อยละ 5 ของค่าจ้างเท่าเดิม ส่วนของผู้ประกันตนที่มีค่าจ้างสูงกว่า 15,000 บาท จะจ่ายเงินสมทบเพิ่มขึ้น

ล่าสุด นพ.สุรเดช วลีอิทธิกุล เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม (สปส.) ระบุถึง เพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม ว่า ขณะนี้ยังอยู่ในขั้นของการทำความเข้าใจกับผู้ประกันตน โดยใช้วิธีรับฟังความเห็นทางออนไลน์ ขณะนี้ทำให้คนมีความเข้าใจไปมากกว่าครึ่งแล้ว หากมีผู้ประกันตนเห็นด้วยเกินร้อยละ 80 คิดว่าน่าจะสามารถเดินหน้าต่อไป สำหรับการเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม หากผู้ประกันตนมีเงินเดือนมากกว่า 15,000 บาท เช่น

  • เงินเดือน 16,000 บาท จ่ายสมทบกองทุนประกันสังคม 800 บาทต่อเดือน

  • เงินเดือน 18,000 บาท จ่ายสมทบกองทุนประกันสังคม 900 บาทต่อเดือน

  • เงินเดือน 20,000 บาท จ่ายสมทบกองทุนประกันสังคม 1,000 บาทต่อเดือน

 

สำหรับผู้ประกันตนที่มีเงินเดือน 15,000 บาท ก็จ่ายเท่าเดิมคือ 750 บาทต่อเดือน สรุปผู้ประกันตนที่มีฐานเงินเดือนสูงก็จ่ายเพิ่มอีกนิดหน่อย แต่เวลารับสิทธิประโยชน์ทดแทนก็ได้รับเพิ่มขึ้น

 

ที่มา : https://www.prachachat.net/general/news-172132

Advertisement

 

สปส.เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ ประกันสังคม

เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม วัดจากฐานเงินเดือน ยิ่งสูงยิ่งจ่ายเยอะ

 

เมื่อผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบเพิ่มขึ้นก็จะได้รับสิทธิประโยชน์เพิ่มมากขึ้น ดังนี้

เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม วัดจากฐานเงินเดือน ยิ่งสูงยิ่งจ่ายเยอะ

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

ประกันสังคม เพิ่มค่าฝากครรภ์ 1 พันบาท แม่ท้องต้องทำยังไง ใช้เอกสารอะไรบ้าง

สิทธิบัตรทอง คนท้อง และลูกน้อย สิทธิประโยชน์ดีๆ ที่แม่ควรรู้

33 คำถาม : เงินประกันสังคมกรณีคลอดบุตรและเงินสงเคราะห์บุตรยื่นอย่างไรให้ได้เงิน

เพิ่มเงินบัตรคนจนเป็น 500 บาทต่อเดือน เริ่มกลางมีนาคม 2561

 

บทความจากพันธมิตร
ก้าวไปอีกขั้น! PalFish Thailand จัดงานอลัง “ฉลองรับการขยายออฟฟิศใหม่”
ก้าวไปอีกขั้น! PalFish Thailand จัดงานอลัง “ฉลองรับการขยายออฟฟิศใหม่”
แพ็ลฟิชฯ จัดอลัง!! ประชันแข่งขันสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ “PalFish English Speech Contest” - ดัน “UN” ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs 17)
แพ็ลฟิชฯ จัดอลัง!! ประชันแข่งขันสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ “PalFish English Speech Contest” - ดัน “UN” ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs 17)
สร้างความแข็งแกร่งของฮีโร่ตัวน้อย ด้วย LPR โพรไบโอติก ตัวดัง
สร้างความแข็งแกร่งของฮีโร่ตัวน้อย ด้วย LPR โพรไบโอติก ตัวดัง
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Tulya

  • หน้าแรก
  • /
  • ข่าว
  • /
  • เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม วัดจากฐานเงินเดือน ยิ่งสูงยิ่งจ่ายเยอะ
แชร์ :
  • เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

    เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

  • นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

    นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

  • เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

    เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

  • เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

    เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

  • นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

    นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

  • เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

    เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว