X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

การนอนของทารกในครรภ์ ลูกในท้องนอนกี่ชั่วโมง ตื่นตอนไหน หิวตอนไหน

บทความ 3 นาที
การนอนของทารกในครรภ์ ลูกในท้องนอนกี่ชั่วโมง ตื่นตอนไหน หิวตอนไหน

อยากเข้าใจเหตุผลที่ลูกน้อยไม่ยอมนอน นอนกลางวันสลับกับกลางคืน หรือเหมือนง่วงแต่ไม่ยอมหลับ ต้องอ่านเรื่องนี้ เด็กแต่ละคนไม่เหมือนกัน แต่หากคุณเข้าใจกลไกธรรมชาติของการนอนเด็กตั้งแต่อยู่ในท้อง คุณจะเข้าใจและแก้ปัญหาการนอนของทารกได้อย่างมีหลักการ

การนอนของทารกในครรภ์

การนอนของทารกในครรภ์ กับบางเรื่องที่คุณอาจจะยังไม่รู้ อยากเข้าใจเหตุผลที่ลูกน้อยไม่ยอมนอน นอนกลางวันสลับกับกลางคืน ต้องอ่านเรื่องนี้

การนอนของทารกในครรภ์

เรื่องที่คุณอาจยังไม่รู้ การนอนของทารกในครรภ์

การนอนของทารกในท้องแม่

  • สภาวะแวดล้อมในครรภ์แม่ เหมาะกับการนอนของทารกอย่างยิ่ง เพราะในท้องของแม่ทั้งมืด อบอุ่น เงียบ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง และเวลาที่คุณแม่ท้องเดินไปมาก็เหมือนเป็นการไกวเปลให้ลูกหลับ
  • ทารกในครรภ์แม่จะนอนประมาณ 20 ชั่วโมงต่อวัน
  • ลูกของคุณจะได้ยินเสียงหัวใจ เสียงท้องร้อง และเสียงพูดของคุณแม่ ที่จะทำให้รู้สึกอุ่นใจ นอกจากนั้นทารกน้อยในครรภ์ยังไม่รู้สึกหิวเลย เพราะมีสายสะดือเชื่อมต่ออาหาร ซึ่งเป็นอีกเหตุผลที่ทำให้ทารกน้อยนอนหลับได้อย่างสบายใจ
  • การตื่นของทารกในครรภ์เกิดขึ้นไม่เป็นเวลา และลูกจะตื่นเพียงช่วงเวลาสั้น ๆ เท่านั้น
  • ช่วงที่ลูกหลับในท้องแม่อาจมีการขยับตัว ถีบคุณแม่บ้าง เพราะลูกในท้องมักเป็นเด็กนอนดิ้น
  • เมื่อตั้งครรภ์ถึง 7 เดือน เบบี๋ในท้องจะเริ่มมีความฝันแล้วนะ เพราะตัวอ่อนในครรภ์นี้มีการสร้างสมองเพียงพอให้เกิดการหลับแบบ REM (rapid eye movement) เด็กเริ่มมีกระแสประสาทที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการมองเห็นและการได้ยิน
  • เมื่อตั้งครรภ์ครบ 8 เดือน ทารกก็จะเริ่มนอนหลับแบบ non-REM หรือแบบหลับสนิทได้แล้วด้วย
  • เด็กยิ่งเล็กยิ่งฝันเยอะ ส่วนคำถามที่ว่าลูกน้อยฝันเรื่องอะไร เราคงไม่มีวันรู้
  • ถ้าทำการอัลตร้าซาวด์ 4 มิติ บางทีคุณแม่อาจจะได้เห็นลูกนอนแล้วยิ้มด้วย นี่เป็นเพราะว่าช่วงที่ลูกหลับแบบ REM กล้ามเนื้อบริเวณหน้าเกิดการกระตุกหรือมีการดึงนั่นเอง
  • เบบี๋ในท้องชอบนอนกลางวันและตื่นตอนกลางคืน เพราะช่วงกลางคืนที่คุณแม่นอนหลับจะมีพื้นที่ให้ลูกน้อยได้ขยับตัวเยอะกว่าเดิม แถมช่วงกลางวันที่คุณแม่เดินเยอะยิ่งทำให้เบบี๋รู้สึกกำลังนอนโยกเยก ทำให้น่าหลับ

คุณแม่ท่านใดมีเรื่องราวดี ๆ เกี่ยวกับเบบี๋ในท้อง ก็สามารถบอกเล่าประสบการณ์ผ่านทางช่องแสดงความคิดเห็นด้านล่างนี้ได้เลยนะคะ

Advertisement

บทความใกล้เคียง

ผมร่วงหลังคลอดใช้อะไรดี ที่ผมร่วงเยอะเพราะลูกจำหน้าแม่ได้แล้วจริงไหม

ลูกนอนกลางวันสลับกับกลางคืนทำไงดี

คลอดลูกแล้วท้องไม่ยุบ มีวิธีทำให้ท้องยุบหลังคลอดได้อย่างไร

parenttown

บทความจากพันธมิตร
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
4 อาการคนท้อง  ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
4 อาการคนท้อง ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

ณัฐพร จันทร์โชคพงษ์

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • การนอนของทารกในครรภ์ ลูกในท้องนอนกี่ชั่วโมง ตื่นตอนไหน หิวตอนไหน
แชร์ :
  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

    วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

    วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว