X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

อย่าหาทำ !! บอแรกซ์ ผสมน้ำ เป็นอันตรายต่อสุขภาพ อย่าตกเป็นเหยื่อ

15 Mar, 2022
อย่าหาทำ !! บอแรกซ์ ผสมน้ำ เป็นอันตรายต่อสุขภาพ อย่าตกเป็นเหยื่ออย่าหาทำ !! บอแรกซ์ ผสมน้ำ เป็นอันตรายต่อสุขภาพ อย่าตกเป็นเหยื่อ

อย่าหาทำ !! เทรนด์ใหม่นำสาร "บอแรกซ์" มาผสมน้ำดื่ม เพราะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ร่วมกันเตือนพ่อแม่พี่น้องไม่ให้ตกเป็นเหยื่อ เพราะตอนนี้มีกลุ่มที่ชักชวนให้กินบอแรกซ์กัน อวดอ้างเพื่อรักษาโรคต่าง ๆ แก้อาการเจ็บปวด โดยเมื่อก่อนเราคงเคยได้ยินเรื่องการใช้สารบอแรกซ์ในอาหารจำพวกไส้กรอก ลูกชิ้นกันมาแล้ว ว่าเป็นอันตรายต่ออวัยวะในร่างกาย โดยเฉพาะตับ ไต และสมอง จนมีกฎหมายห้ามใส่สารบอแรกซ์ในอาหาร

 

บอแรกซ์

ขอบคุณภาพจาก Facebook Page : หมอแล็บแพนด้า

 

อันตรายของบอแรกซ์

บอแรกซ์ หรือ น้ำประสานทอง เรียกว่า โซเดียมโบเรท (Sodium Borate) เป็นผงสีขาวคล้ายแป้ง มักตรวจพบเจือปนในอาหารต่าง ๆ เช่น เนื้อสด , เนื้อสัตว์แปรรูป ลูกชิ้น ไส้กรอก หมูยอ รวมไปถึงผัก ผลไม้ดอง แช่อิ่ม เพื่อช่วยให้อาหารกรอบ นุ่มเด้ง หากได้รับประทานที่มีสารบอแรกซ์ปนเปื้อนบ่อย ๆ เป็นเวลานาน จะทำให้ร่างกายอ่อนเพลีย มีไข้ เบื่ออาหาร ความดันโลหิตต่ำ ซึ่งปริมาณบอแรกซ์ที่ทำให้เกิดพิษ และทำให้เสียชีวิตได้ในเด็ก คือ 4.5-14 กรัม ส่วนในผู้ใหญ่ คือ 5-30 กรัม

 

บอแรกซ์

 

หากบริโภคอาหารที่ปนเปื้อนสารบอแรกซ์ จะมีอาการ ดังนี้

  • ปวดท้องรุนแรง คลื่นไส้ อาเจียนเป็นเลือด
  • สารบอแรกซ์สะสมในร่างกายจนทำลายเนื้อเยื่ออวัยวะ ไตและสมอง
  • ทำให้ไตอักเสบ หรือเกิดภาวะไตวาย อาจทำให้ถึงขั้นเสียชีวิตได้

โดยความรุนแรงของอาการอาจไม่เท่ากันขึ้นอยู่ที่ความแข็งแรงของแต่ละบุคคลและปริมาณสารบอแรกซ์ที่ได้รับ และในบางครั้งปัญหาสุขภาพ อาการต่าง ๆ อาจยังไม่แสดงออกมาทันทีเมื่อรับประทานแต่จะเป็นการสะสมในร่างกายอย่างต่อเนื่อง ทางที่ดีควรช่วยกันป้องกันตัวเองและคนใกล้ตัวไม่ให้บริโภคสารบอแรกซ์ทั้งทางตรงที่ผสมน้ำดื่มกิน หรือกินบริโภคบอแรกซ์ผ่านอาหารแปรรูปต่าง ๆ

 

บทความจากพันธมิตร
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
ดีแทค ขอชวนน้อง ๆ มา #เปลี่ยนโลกช่วงปิดเทอม กับ dtac Young Safe Internet Leader Cyber Camp ซีซั่น 3
ดีแทค ขอชวนน้อง ๆ มา #เปลี่ยนโลกช่วงปิดเทอม กับ dtac Young Safe Internet Leader Cyber Camp ซีซั่น 3
ครั้งแรกในไทยฟิลิปส์ เปิดตัวโคมUVCยับยั้งเชื้อโรคแบบตั้งโต๊ะ รองรับตลาดการใช้งานในครัวเรือนและธุรกิจบริการ
ครั้งแรกในไทยฟิลิปส์ เปิดตัวโคมUVCยับยั้งเชื้อโรคแบบตั้งโต๊ะ รองรับตลาดการใช้งานในครัวเรือนและธุรกิจบริการ
จะดีแค่ไหนหากโลกนี้มีของเล่นที่เด็กทุกคนสนุกด้วยกันได้อย่างเท่าเทียม มารู้จักกับ BLIX POP กันเถอะ
จะดีแค่ไหนหากโลกนี้มีของเล่นที่เด็กทุกคนสนุกด้วยกันได้อย่างเท่าเทียม มารู้จักกับ BLIX POP กันเถอะ

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

5 สารเคมีอันตรายใน น้ำยาซักผ้าเด็ก และผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดสำหรับลูกรัก

ระวัง คาเฟอีน !! ไม่ใช่แค่ในกาแฟ แต่พบได้ในอาหารรอบตัวเด็ก

สารเคมีอันตรายกับคนท้อง สารเคมีแบบไหนที่คุณแม่ต้องเลี่ยง

ที่มาข้อมูล : 1

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Suchanya Dheerasunt

  • หน้าแรก
  • /
  • ข่าว
  • /
  • อย่าหาทำ !! บอแรกซ์ ผสมน้ำ เป็นอันตรายต่อสุขภาพ อย่าตกเป็นเหยื่อ
แชร์ :
  • ด่วน ! ครม. ประกาศเพิ่มการจ่ายเงินเพื่อการคลอดบุตรจาก 90 วัน เป็น 98 วัน

    ด่วน ! ครม. ประกาศเพิ่มการจ่ายเงินเพื่อการคลอดบุตรจาก 90 วัน เป็น 98 วัน

  • สร้างสรรค์ หรือสร้างภาระ ชุดนักเรียนอนุบาล 5 วัน 4 ชุด

    สร้างสรรค์ หรือสร้างภาระ ชุดนักเรียนอนุบาล 5 วัน 4 ชุด

  • เผยผลการศึกษา!! หมอยง หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางเผยเด็ก 5-6 ขวบ ติดโควิดมากกว่าที่ใครหลายคนคิด

    เผยผลการศึกษา!! หมอยง หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางเผยเด็ก 5-6 ขวบ ติดโควิดมากกว่าที่ใครหลายคนคิด

app info
get app banner
  • ด่วน ! ครม. ประกาศเพิ่มการจ่ายเงินเพื่อการคลอดบุตรจาก 90 วัน เป็น 98 วัน

    ด่วน ! ครม. ประกาศเพิ่มการจ่ายเงินเพื่อการคลอดบุตรจาก 90 วัน เป็น 98 วัน

  • สร้างสรรค์ หรือสร้างภาระ ชุดนักเรียนอนุบาล 5 วัน 4 ชุด

    สร้างสรรค์ หรือสร้างภาระ ชุดนักเรียนอนุบาล 5 วัน 4 ชุด

  • เผยผลการศึกษา!! หมอยง หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางเผยเด็ก 5-6 ขวบ ติดโควิดมากกว่าที่ใครหลายคนคิด

    เผยผลการศึกษา!! หมอยง หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางเผยเด็ก 5-6 ขวบ ติดโควิดมากกว่าที่ใครหลายคนคิด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจไปให้กับคุณ