X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

โรครูมาตอยด์ ไขข้ออักเสบ สาเหตุ อาการ และวิธีการรักษา

บทความ 5 นาที
โรครูมาตอยด์ ไขข้ออักเสบ สาเหตุ อาการ และวิธีการรักษา

โรครูมาตอยด์ หรือ ที่บางคนเรียกกันว่า โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ เป็นโรคที่ยังไม่มีสาเหตุ และที่มาอย่างแน่ชัด บทความนี้ จะพามาทำความรู้จักกับโรค เพื่อให้ผู้อ่าน ได้รับความรู้ และสาระดี ๆ เกี่ยวกับโรคนี้กัน

 

โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ คืออะไร?

โรครูมาตอยด์ หรือ ไขข้ออักเสบ เป็นโรคข้ออักเสบเรื้อรังชนิดหนึ่ง ที่มีการเจริญงอกงามของเบื่อบุ ซึ่งจะทำลายกระดูก และข้อในที่สุด จึงทำให้เกิดการอักเสบของข้อต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งมีสาเหตุมาจากระบบภูมิคุ้มกัน ในร่างกาย เกิดการทำงานผิดปกติ ทำให้ไปทำลายอวัยวะต่าง ๆ ภายในร่างกายของผู้ป่วยเอง ซึ่งผู้ป่วยบางรายจะมีผลกระทบ ต่ออวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น หัวใจ ปอด หลอดเลือด และดวงตา เป็นต้น

 

โรครูมาตอยด์ จะพบได้บ่อยในช่วงวัย 20-30 ปี และ 50-60 ปี ซึ่งจะพบในผู้หญิงมากกว่าในช่วงที่อายุน้อย แต่ในช่วงอายุมาก จะพบทั้งในเพศหญิง และ เพศชาย เท่า ๆ กัน

 

โรครูมาตอยด์เกิดจากอะไร?

โรครูมาตอยด์ เป็นโรคที่เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย เกิดการทำลายตนเอง โดยจะทำลายเนื้อเยื่อหุ้มข้อ ทำให้เกิดการอักเสบ และบวม ทำให้ไปทำลายกระดูกข้อต่อ และกระดูกอ่อน ไปจนถึงเส้นเอ็นที่ยึดกล้ามเนื้อและกระดูก 

 

ที่มาของโรครูมาตอยด์ ยังไม่มีผลการวิจัยที่แน่ชัด แต่มีการศึกษาไว้ว่า อาจเกิดจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม และการติดเชื้อบางอย่างได้

 

โรครูมาตอยด์

 

ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเสี่ยงของโรครูมาตอยด์

  • เพศ ผู้หญิงจะมีแนวโน้มที่เป็นโรคมากกว่าผู้ชาย
  • อายุ โรครูมาตอยด์ สามารถเกิดขึ้นได้ทุกวัย แต่มักเกิดช่วงอายุ 20-30 ปี และ 50-60 ปี
  • กรรมพันธุ์ หากมีคนในครอบครัว มีประวัติการเป็นโรครูมาตอยด์ จะทำให้ลูกมีความเสี่ยงเช่นกัน
  • การสูบบุหรี่ จะเป็นการเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรครูมาตอยด์ และยังเพิ่มโอกาศให้ความรุนแรงของโรคอีกด้วย
  • ความอ้วน ในผู้ที่มีน้ำหนักตัวมาก หรือ เป็นโรคอ้วน จะทำให้เกิดความเสี่ยงในการเป็นโรครูมาตอยด์

 

อาการของโรครูมาตอยด์เป็นอย่างไร?

อาการของโรครูมาตอยด์ จะสังเกตได้จากผู้ป่วยจะมีอาการปวด โดยเริ่มปวดอย่างช้า ๆ และอาจนานเป็นสัปดาห์ และเป็นเดือน ซึ่งจะทำให้มีอาการเหนื่อยง่าย อ่อนล้า และเมื่อยล้า จนอาจทำให้น้ำหนักลดลง หรือ มีไข้อ่อน ๆ

 

อาการของโรคอื่น ๆ มีดังนี้

  • มีอาการปวด บวม แดง ข้อฝืด โดยจะเกิดขึ้นหลาย ๆ บริเวณในร่างกาย เช่น บริเวณ มือ ข้อมือ ข้อศอก เข่า คอ เป็นต้น
  • อาการข้อฝืดแข็ง ซึ่งอาจเกิดจากร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหว เช่น เมื่อนั่งเป็นเวลานาน
  • ปุ่มรูมาตอยด์ เป็นปุ่มเนื้อนิ่ม ๆ ที่เกิดบริเวณที่มีการเสียดสีบ่อย ๆ เช่น บริเวณข้อศอก ข้อนิ้ว เป็นต้น

 

การวินิจฉัยโรครูมาตอยด์

แพทย์จะวินิจฉัยโรค ด้วยการตรวจร่างกาย ร่วมกับการตรวจในห้องปฏิบัติการ ซึ่งการตรวจร่างกาย แพทย์จะดูว่าอาการที่ปวด มีการอักเสบอย่างไร มีอาการบวม แดง ร้อน หรือไม่ ในกรณีที่ไม่สามารถระบุได้ชัดเจน แพทย์จะใช้การเอ็กซ์เรย์ หรือ ตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เพิ่มเติม เพื่อการวินิจฉัยที่ถูกต้อง

 

โรครูมาตอยด์

 

การรักษาโรครูมาตอยด์เป็นอย่างไร?

โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ ปัจจุบันยังไม่มีการรักษาให้หายขาด แต่สามารถบรรเทาอาการของโรคได้ หากเริ่มต้นรักษาเร็ว ซึ่งการรักษาจะขึ้นอยู่กับแพทย์พิจารณา ความรุนแรงของโรค อาการ และ ระยะเวลาเกิดโรค

 

โดยปกติแล้ว การรักษาโรครูมาตอยด์ สามารถทำได้ ดังนี้

  1. การบำบัด

แพทย์จะวินิจฉัยโรค และทำการส่งผู้ป่วย ไปยังผู้เชี่ยวชาญการบำบัดโรค หรือนักกายภาพ เพื่อจะช่วยให้ผู้ป่วยได้ทำการบริหารร่างกาย เพื่อให้ข้อต่าง ๆ มีความยืดหยุ่น และใช้อุปกรณ์ในการช่วยเหลือ เพื่อลดความเจ็บปวดลงได้

บทความจากพันธมิตร
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell

 

2. การผ่าตัด

การรักษาด้วยการผ่าตัด จะเกิดขึ้นเมื่อการรักษาด้วยยาไม่ได้ผล ซึ่งแพทย์จะเป็นผู้พิจารณาการรักษา ซึ่งการผ่าตัดจะช่วยให้ข้อต่อ สามารถกลับมาทำงานได้ดีขึ้น ช่วยลดความเจ็บปวดลง และช่วยแก้ไขส่วนที่ผิดรูป ให้กลับมาเป็นปกตได้

 

การป้องกันโรครูมาตอยด์

โรครูมาตอยด์ ที่จริงแล้ว เป็นโรคที่ไม่สามารถป้องกันได้ แต่สามารถใช้การบำบัด ร่วมกับการรักษา ที่จะช่วยทำให้ชีวิตดีขึ้น ผู้ป่วยสามารถดูแลคนเอง ให้แข็งแรงอยู่เสมอ และหลีกเลี่ยงพฤติกรรม ที่ต้องใช้งานข้อต่อมาก ๆ และต้องรับประทานยาให้ครบ เพื่อป้องกันอาหารอักเสบ และความเสี่ยงต่าง ๆ ที่อาจตามมาได้

 

โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ อาจเป็นโรคที่ไม่ได้ร้ายแรงถึงชีวิต แต่ก็สร้างความเจ็บปวดให้กับผู้ป่วยได้ไม่น้อย ซึ่งการรักษาในสมัยนี้ แม้จะยังไม่สามารถทำให้หายขาดได้ แต่ก็สามารถทำให้อาการบรรเทาลงได้ ดังนั้นใครที่สงสัย ว่าตนเองกำลังป่วยเป็นโรครูมาตอยด์ ควรรีบพบแพทย์ เพื่อเข้ารับการวินิจฉัย เพื่อการรักษาที่ทันท่วงที

 

ที่มาข้อมูล : พบแพทย์ , โรงพยาบาลบำรุงราษฏร์

บทความที่น่าสนใจ :

โรค HIV คือโรคอะไร ใช่โรคเอดส์ไหม ? มีวิธีรักษาอย่างไรบ้าง ?

ไข้หวัดใหญ่ สังเกตอาการไข้หวัดใหญ่ พร้อมวิธีป้องกัน ดูแลตัวเองอย่างไรให้ห่างไกลโรค

มีอาการท้องเสีย เมื่อมีอาการท้องเสียทำอย่างไร ท้องร่วงสิ่งที่ควรกินและไม่ควรกิน

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Waristha Chaithongdee

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • โรครูมาตอยด์ ไขข้ออักเสบ สาเหตุ อาการ และวิธีการรักษา
แชร์ :
  • เล็บคนท้อง ยาวไวกว่าปกติจริงไหม อยากเล็บสวยฟาด! แม่ท้องทำเล็บได้หรือเปล่า

    เล็บคนท้อง ยาวไวกว่าปกติจริงไหม อยากเล็บสวยฟาด! แม่ท้องทำเล็บได้หรือเปล่า

  • คนท้องโปรเจสเตอโรนต่ำ เสี่ยงแท้ง ! โปรเจสเตอโรนคืออะไร แม่ท้องต้องอ่าน

    คนท้องโปรเจสเตอโรนต่ำ เสี่ยงแท้ง ! โปรเจสเตอโรนคืออะไร แม่ท้องต้องอ่าน

  • ทำอย่างไรดีเมื่อ คนท้องเหม็นอาหาร ทานข้าวไม่ค่อยได้ อันตรายต่อลูกไหม?

    ทำอย่างไรดีเมื่อ คนท้องเหม็นอาหาร ทานข้าวไม่ค่อยได้ อันตรายต่อลูกไหม?

  • เล็บคนท้อง ยาวไวกว่าปกติจริงไหม อยากเล็บสวยฟาด! แม่ท้องทำเล็บได้หรือเปล่า

    เล็บคนท้อง ยาวไวกว่าปกติจริงไหม อยากเล็บสวยฟาด! แม่ท้องทำเล็บได้หรือเปล่า

  • คนท้องโปรเจสเตอโรนต่ำ เสี่ยงแท้ง ! โปรเจสเตอโรนคืออะไร แม่ท้องต้องอ่าน

    คนท้องโปรเจสเตอโรนต่ำ เสี่ยงแท้ง ! โปรเจสเตอโรนคืออะไร แม่ท้องต้องอ่าน

  • ทำอย่างไรดีเมื่อ คนท้องเหม็นอาหาร ทานข้าวไม่ค่อยได้ อันตรายต่อลูกไหม?

    ทำอย่างไรดีเมื่อ คนท้องเหม็นอาหาร ทานข้าวไม่ค่อยได้ อันตรายต่อลูกไหม?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ