theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • Project Sidekicks
    • การตั้งครรภ์
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • การสูญเสียทารก
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • สุขภาพ
    • อาการป่วย
    • วัคซีน
    • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ความปลอดภัย
    • มุมคุณพ่อ
  • การศึกษา
    • ข่าวการศึกษา
    • คลีนิกพัฒนาการ
    • เตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
    • โรงเรียนอนุบาล
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • งานบ้าน
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ดวงและราศี
    • ดารา-แฟชั่น
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ฟิตเนส
    • อีเว้นท์
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง

Over Feeding กินนมเยอะเกินไป นำ้นมเยอะเกินไป น้ำนมน้อยเกินไป แบบไหนอันตราย?

บทความ 5 นาที
แชร์ :
•••
Over Feeding กินนมเยอะเกินไป นำ้นมเยอะเกินไป น้ำนมน้อยเกินไป แบบไหนอันตราย?

Over Feeding กินนมเยอะเกินไป นำ้นมเยอะเกินไป นำ้นมน้อยเกินไป แบบไหนอันตราย?

คุณแม่หลายคน อาจจะ เคยได้ยินชื่อเรียกอาการ Over Feeding กินนมเยอะเกินไป กันมาบ้าง แต่อาจจะ ไม่เข้าใจอย่างแน่ชัดว่า ที่มาที่ไป หรือ ความหมาย มาจากอะไร? วันนี้ theAsianparent Thailand เว็บไซต์และคอมมูนิตี้อันดับหนึ่งที่คุณแม่เลือก จะพาคุณแม่ มาดูกันว่า อาการที่เรียกว่าOver Feeding นั้น เกิดจากอะไร ถ้าเกิดกับลูกของเรา จะสังเกต อาการได้อย่างไร และ ความหมายของคำว่า ลูกกินนมมากเกินไป

ความหมายของคำว่า Over Feeding

Over Feeding

OverFeeding

คำว่า Over Feedingหรือ อาการนี้ คืออะไร? คำตอบก็คือ อาการที่ลูกของเรา ได้รับนม หรือ ให้ลูกดื่มนม มากเกินปริมาณ ที่เด็กควรได้รับนั่นเอง 

สาเหตุเกิดจากอะไร?

Over Feeding

OverFe eding

โดยทั่วไปแล้ว อาการ ที่ลูกกินนมมากเกินไปนั้น จะเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่อย่างไรก็ตาม คุณแม่ก็ต้องระวังให้ดี เพราะ เด็กทารก ที่มีอายุ ต่ำกว่า 12 สัปดาห์ ไม่สามารถควบคุมปริมาณนม ที่เข้าไปในร่างกายได้ ทำให้ลูก กินนมเยอะกว่าที่ควร การให้ลูกดื่มนมจากในขวด จะควบคุมได้ยากกว่า การที่ลูกดื่มนมจากเต้า สาเหตุ ที่ทำให้เกิด อาการOver Feeding  นั้น มีสาเหตุ หลายอย่างอีกเช่นกัน :

ลูกดื่มนมตอนหลับ

เด็กทารก มักจะมีพฤติกรรม นอนหลับไปเอง ตอนหลังจากที่ ดื่มนมจากเต้าของคุณแม่ เมื่อลูกทำบ่อย ๆ นั่นอาจจะทำให้ ลูกติดเป็นนิสัย ดื่มนมตอนนอน ถ้าไม่ดื่มจะนอนไม่หลับ พฤติกรรมแบบนี้ อาจส่งผล ให้ลูกดื่มนม ในปริมาณที่มากกว่าปกติได้

นอนไม่พอ

Over Feeding

Ov erFeeding

เมื่อลูกนอนไม่พอ เวลาตื่นมา ต้องมีอะไรบางอย่างเพื่อนกระตุ้นลูก ให้ลูกตื่นตัว หรือ ให้ลูกไม่ร้อง การให้ลูกดื่มนมตอนนี้ จะทำให้ลูกหยุดร้อง นั่นเป็นอีกหนึ่งสาเหตุ ที่จะทำให้เกิดปัญหาได้ ในภายหลัง

ประเมินการผิด

ความผิดพลาดเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่เกิดขึ้นได้ มีหลายอย่าง เช่น ชงนม มากเกินปริมาณ หรือ ให้ลูกทานนม ทุกครั้งที่ลูกร้อง โดยปกติแล้ว ตัวทารกเอง จะรู้ตัวอยู่แล้วว่า ตนต้องการอะไร เมื่อทารกอิ่ม เขาจะหยุดเอง เด็กที่โตขึ้น อาจผลักขวดนมออก จากตัวไปเอง การดูสัญญาณ และ การกระทำของลูกเป็นสิ่งที่ดี เพราะแม่จะรู้ได้ว่าเมื่อไหร่ ที่ควรจะหยุด ถ้าเกิดละเลย อาจจะเป็นอันตรายได้

ให้ลูกดื่มเร็วเกินไป

ถ้าปล่อยให้ลูกหิว มากเกินไป เวลาที่ลูกดูดนม ลูกอาจจะดื่มด้วยความเร็วมาก ซึ่งไม่ดีต่อการควบคุม ปริมาณ และ บาลานซ์ อย่างแน่นอน 

อาการของเด็กที่ดื่มนมมากเกินไป หรือ Over Feeding เป็นอย่างไร?

Over Feeding

Ov erFeeding

อารมณ์ไม่ดี

เมื่อลูกรู้สึกว่า กินเยอะเกินไป ท้องไม่ดี มันจะเริ่ม ทำให้ลูกรู้สึก รำคาญ ไม่สบายตัว จะแสดงอารมณ์ของตนออกมา โดยการแสดงอารมณ์โกรธ ร้องไห้ งอแง ไม่พอใจ 

ถ่ายมีกลิ่น

เนื่องจากดื่มเยอะเกินไป ทำให้ส่งผลโดยตรงกับ ลำไส้ใหญ่ ไม่สามารถย่อยได้ เกิดการหมักหมม เวลาที่ลูกถ่ายออกมา จะมีกลิ่นเหม็นมาก มีความเหลว และ ถ่ายเร็วเหมือนระเบิด อาจมีการตดมากขึ้น และ มีอาการท้องอืด ปวดท้อง

มีแก๊สในกะเพราะ

Over Feeding

OverFee ding

ลูกอาจแสดงออกเป็น การเรอ และ ถ้าเรอ หรือ สะอึกมาก ๆ ในอาการที่รุนแรง ลูกอาจอาเจียนได้ ทำให้เห็นได้ว่า Over Feedingอันตรายต่อเด็กทารก 

The Asianparent Thailand เว็บไซต์และคอมมูนิตี้อันดับหนึ่งที่คุณแม่เลือก นอกจากสาระความรู้ที่เรามอบให้คุณแม่ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ การวางแผนมีลูกแล้ว เรายังมีแอพพลิเคชั่นรวมถึงสื่อมัลติมีเดียหลากหลายที่ช่วยตอบโจทย์ทุกความต้องการของคุณแม่ยุคใหม่ ที่ต้องทำงานและดูแลลูกไปพร้อมกัน ให้มีความมั่นใจและพร้อมในการดูแลลูกทุกช่วงเวลา ตั้งแต่การให้นมบุตร การดูแลตนเองหลังคลอด ท่าออกกำลังกายหลังคลอดเพื่อให้หุ่นของแม่หลังคลอดกลับมาฟิตแอนเฟิร์มอีกครั้ง  The Asianparent Thailand ขอเป็นส่วนหนึ่งที่จะสนับสนุนคุณพ่อคุณแม่ในเรื่องการดูแลลูก ความรู้แม่และเด็กที่เต็มเปี่ยม และตอบทุกข้อสงสัยในแอพพลิเคชั่นที่เป็นสื่อกลาง และกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัวไทย

Source : parenting.firstcry

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :

วิธีจับลูกเรอ ท่าอุ้มเรอ ท่าจับลูกเรอ ลูกไม่เรอทําอย่างไร ให้ลูกกินนมเสร็จต้องจับเรอ

วิธีแก้ปัญหาลูกสะอึก หลังกินนม ทารกสะอึกทําไงให้หาย ให้นมลูกเสร็จแล้วลูกสะอึก

RSV ต่างกับหวัดอย่างไร? เนื่องจากโรคมีความคล้ายเคียงกัน มาดูความต่างกันเถอะ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

บทความโดย

J.J.

  • หน้าแรก
  • /
  • ทารก old
  • /
  • Over Feeding กินนมเยอะเกินไป นำ้นมเยอะเกินไป น้ำนมน้อยเกินไป แบบไหนอันตราย?
แชร์ :
•••
  • จับตา 5 อาการ เมื่อลูกกินนมเยอะเกินไป ระวัง Overfeeding

    จับตา 5 อาการ เมื่อลูกกินนมเยอะเกินไป ระวัง Overfeeding

  • ปานของเบบี๋ แบบไหนปลอดภัย แบบไหนอันตราย

    ปานของเบบี๋ แบบไหนปลอดภัย แบบไหนอันตราย

  • อันตรายการใช้ปลั๊กพ่วงที่พ่อแม่ห้ามมองข้าม

    อันตรายการใช้ปลั๊กพ่วงที่พ่อแม่ห้ามมองข้าม

  • คําคมวันวาเลนไทน์ คําคมความรักวันวาเลนไทน์ แคปชั่นวันวาเลนไทน์

    คําคมวันวาเลนไทน์ คําคมความรักวันวาเลนไทน์ แคปชั่นวันวาเลนไทน์

app info
get app banner
  • จับตา 5 อาการ เมื่อลูกกินนมเยอะเกินไป ระวัง Overfeeding

    จับตา 5 อาการ เมื่อลูกกินนมเยอะเกินไป ระวัง Overfeeding

  • ปานของเบบี๋ แบบไหนปลอดภัย แบบไหนอันตราย

    ปานของเบบี๋ แบบไหนปลอดภัย แบบไหนอันตราย

  • อันตรายการใช้ปลั๊กพ่วงที่พ่อแม่ห้ามมองข้าม

    อันตรายการใช้ปลั๊กพ่วงที่พ่อแม่ห้ามมองข้าม

  • คําคมวันวาเลนไทน์ คําคมความรักวันวาเลนไทน์ แคปชั่นวันวาเลนไทน์

    คําคมวันวาเลนไทน์ คําคมความรักวันวาเลนไทน์ แคปชั่นวันวาเลนไทน์

  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การตั้งชื่อลูก
    • โภชนาการระหว่างตั้งครรภ์​
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • เซ็กส์และความสัมพันธ์
  • การตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • นมแม่และนมผง
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • ดวงและราศี
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ดารา-แฟชั่น
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore
  • Thailand
  • Indonesia
  • Philippines
  • Malaysia
  • Sri Lanka
  • India
  • Vietnam
  • Australia
  • Japan
  • Nigeria
  • Kenya
พันธมิตรของเรา
Mama's Choice Partner Brand Logo
© Copyright theAsianparent 2021. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้
  • สังคมออนไลน์
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
  • สุขภาพ

ดาวน์โหลดแอปของเรา

google play store
Appstore
  • ติดต่อโฆษณา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทีม
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดการใช้
  • มาเข้าร่วมกับเรา
เปิดในแอป