X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

คลายกังวล WHO เผยที่ตรวจเจอ ไวรัสในนมแม่ เป็นแค่ชิ้นส่วนไวรัส ความเสี่ยงติดโควิดต่ำ

18 Jun, 2020
คลายกังวล WHO เผยที่ตรวจเจอ ไวรัสในนมแม่ เป็นแค่ชิ้นส่วนไวรัส ความเสี่ยงติดโควิดต่ำ

หลังจากมีข่าวว่า น้ำนมแม่อาจมีเชื้อโควิด ล่าสุด WHO ได้ออกมาเปิดเผยว่า ไวรัสในนมแม่ ที่ตรวจเจอนั้น เป็นเพียงชิ้นส่วนไวรัส ความเสี่ยงต่ำ อย่ากังวล

WHO เผยที่ตรวจเจอ ไวรัสในนมแม่ เป็นแค่ชิ้นส่วนไวรัสโควิด-19 (COVID-19)

หลังจากที่มีข่าว จากทางต่างประเทศออกมาว่า แม่ที่ติดเชื้อโควิด-19 (COVID-19) อาจส่งผลให้น้ำนมแม่มีเชื้อไวรัสโควิด-19 (COVID-19) ด้วย แต่ล่าสุด WHO ได้ออกมาเปิดเผยแล้วว่า ไวรัสในนมแม่ ที่ตรวจเจอนั้น เป็นเพียงชิ้นส่วนไวรัส โควิด-19 (COVID-19) เท่านั้น ความเสี่ยงติด โควิด-19 (COVID-19) ต่ำมาก

ไวรัสในนมแม่

จากหลักฐานของ องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้กล่าวถึงความเสี่ยง ที่อาจเกิดจากการแพร่กระจาย ของเชื้อไวรัสโควิด-19 (COVID-19) จากแม่ที่ติดเชื้อ โควิด-19 (COVID-19) ส่งไปถึงลูก ผ่านทางน้ำนมแม่นั้น ดูเหมือนจะไม่สามารถส่งผ่านได้ ก็คือไม่ติดเชื้อนั่นเอง

Tedros Adhanom Ghebreyesus ผู้อำนวยการ องค์การอนามัยโลก (WHO) กล่าวว่า ได้ทำการตรวจสอบความเสี่ยง ของผู้หญิงที่ติดเชื้อไวรัส โควิด-19 (COVID-19) ให้ระมัดระวัง ในระหว่างให้การนมบุตร

ไวรัสในนมแม่

“เรารู้ว่าเด็ก มีความเสี่ยงค่อนข้างต่ำ จากการติดเชื้อไวรัส โควิด-19 (COVID-19) แต่ก็มีความเสี่ยงสูงต่อโรค และเงื่อนไขอื่น ๆ อีกมากมาย ที่สามารถป้องกันได้ ด้วยการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่” Tedros กล่าวในการแถลงข่าว

“จากหลักฐานที่มีอยู่ คำแนะนำของ องค์การอนามัยโลก (WHO) คือ ประโยชน์ ของการเลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแม่ สำคัญกว่าความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้นจากการแพร่กระจาย ของไวรัส โควิด-19 (COVID-19)”

Anshu Banerjee ที่ปรึกษาอาวุโส ในแผนกอนามัยการเจริญพันธุ์ และการวิจัยของ องค์การอนามัยโลก WHO กล่าวว่า มีการตรวจพบเพียง “เศษ” ของไวรัสโควิด-19 (COVID-19) ในน้ำนมแม่ ไม่ใช่ไวรัสสด หรือไวรัส โควิด-19 (COVID-19) ที่มีชีวิต

ไวรัสในนมแม่

จนถึงตอนนี้ก็ยังไม่มีใคร สามารถตรวจจับไวรัส โควิด-19 (COVID-19) แบบสด ๆ หรือแบบที่ยังมีชีวิตอยู่ ในน้ำนมแม่ได้ ดังนั้น ความเสี่ยงในการแพร่เชื้อ จากแม่สู่ลูก ผ่านทางน้ำนมแม่ ยังไม่ได้รับการยอมรับ

เพียงแต่ว่า คุณแม่หลังคลอด ที่ติดเชื้อ ไวรัสโควิด-19 (COVID-19) อาจต้องระมัดระวัง ในการให้นมบุตร มากเป็นพิเศษ สวมหน้ากากอนามัย หมั่นรักษาความสะอาด ป้องกันไม่ให้สารคัดหลั่งอื่น ๆ แพร่กระจายไปสู่ทารกได้

โควิด-19 (Covid-19)

ใครบ้างที่มีความเสี่ยงติดเชื้อ โควิด-19 (Covid-19)

ไวรัสโคโรน่า (Coronavirus) หรือโควิด-19 (Covid-19) นั้น ไม่ใช่การแพร่ระบาดครั้งใหญ่ ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก ก่อนหน้านี้ก็มีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสในทำนองเดียวกัน อย่างโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) ส่วนไวรัสโคโรน่า (Coronavirus) หรือโควิด-19 (Covid-19) ก็ถือเป็นอีกเชื้อไวรัส ที่ตอนนี้กำลังแพร่ระบาดไปทั่วโลก

คนที่มีความเสี่ยงติดเชื้อ โควิด-19 (Covid-19) คือ ผู้ที่มีภูมิต้านทานต่ำ โดยเฉพาะ แม่ท้อง คนแก่ คนที่มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ส่วนในเด็กนั้น ถ้าอ้างอิงตามสถิติผู้คิดเชื้อ ถือว่าเด็กยังมีภูมิต้านทานสูง จึงเจอเคสผู้ติดเชื้อที่เป็นเด็กเล็ก ในจำนวนไม่มาก

โควิด-19 (Covid-19)

การป้องกันโรค โควิด-19 (Covid-19) ทำได้อย่างไร?

เนื่องจากในปัจจุบัน ยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรค โควิด-19 (COVID-19) หรือ ไวรัสโคโรน่า หลักในการป้องกันโรคนี้ จึงใช้หลักการเดียวกับการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสทางเดินหายใจอื่น ๆ ได้แก่

  • การล้างมือให้สะอาด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือก่อนสัมผัสตา จมูก ปาก
  • ทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ สะอาด
  • ไม่สัมผัสใกล้ชิด กับผู้ที่มีอาการป่วยไข้ ไอ น้ำมูกไหล
  • หลีกเลี่ยงการไปอยู่ในที่ชุมชนคนเยอะ
  • สวมหน้ากากอนามัย หากต้องไปอยู่ในที่สาธารณะ

ที่มา : reuters

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

เด็กเป็นโควิด-19 เด็กเล็กป่วยเยอะขึ้นทุกวัน ป่วยหนักเข้า ICU พ่อแม่อย่าประมาท!

โจรสาวแม่ลูกอ่อน พิษโควิด 19 ทำแม่ ต้องกลายเป็นโจรขโมยเงิน

ท่าออกกำลังกายในหญิงตั้งครรภ์ ในช่วงโควิด-19 ออกกำลังกายในบ้านยังไง?

บทความจากพันธมิตร
สร้างความแข็งแกร่งของฮีโร่ตัวน้อย ด้วย LPR โพรไบโอติก ตัวดัง
สร้างความแข็งแกร่งของฮีโร่ตัวน้อย ด้วย LPR โพรไบโอติก ตัวดัง
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
ดีแทค ขอชวนน้อง ๆ มา #เปลี่ยนโลกช่วงปิดเทอม กับ dtac Young Safe Internet Leader Cyber Camp ซีซั่น 3
ดีแทค ขอชวนน้อง ๆ มา #เปลี่ยนโลกช่วงปิดเทอม กับ dtac Young Safe Internet Leader Cyber Camp ซีซั่น 3
ครั้งแรกในไทยฟิลิปส์ เปิดตัวโคมUVCยับยั้งเชื้อโรคแบบตั้งโต๊ะ รองรับตลาดการใช้งานในครัวเรือนและธุรกิจบริการ
ครั้งแรกในไทยฟิลิปส์ เปิดตัวโคมUVCยับยั้งเชื้อโรคแบบตั้งโต๊ะ รองรับตลาดการใช้งานในครัวเรือนและธุรกิจบริการ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

PP.

  • หน้าแรก
  • /
  • ข่าว
  • /
  • คลายกังวล WHO เผยที่ตรวจเจอ ไวรัสในนมแม่ เป็นแค่ชิ้นส่วนไวรัส ความเสี่ยงติดโควิดต่ำ
แชร์ :
  • มาดูกันให้ชัด ๆ โควิด-19 (COVID-19) หรือ ไวรัสโคโรน่า คืออะไร ป้องกันได้ยังไง

    มาดูกันให้ชัด ๆ โควิด-19 (COVID-19) หรือ ไวรัสโคโรน่า คืออะไร ป้องกันได้ยังไง

  • เตือนคุณแม่! แม่จ๋า ระวังให้ดี ใน น้ำนมแม่มีเชื้อโควิด อันตรายต่อลูก!

    เตือนคุณแม่! แม่จ๋า ระวังให้ดี ใน น้ำนมแม่มีเชื้อโควิด อันตรายต่อลูก!

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • มาดูกันให้ชัด ๆ โควิด-19 (COVID-19) หรือ ไวรัสโคโรน่า คืออะไร ป้องกันได้ยังไง

    มาดูกันให้ชัด ๆ โควิด-19 (COVID-19) หรือ ไวรัสโคโรน่า คืออะไร ป้องกันได้ยังไง

  • เตือนคุณแม่! แม่จ๋า ระวังให้ดี ใน น้ำนมแม่มีเชื้อโควิด อันตรายต่อลูก!

    เตือนคุณแม่! แม่จ๋า ระวังให้ดี ใน น้ำนมแม่มีเชื้อโควิด อันตรายต่อลูก!

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจไปให้กับคุณ