X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

อาหารอันตรายสำหรับเด็ก

บทความ 3 นาที
อาหารอันตรายสำหรับเด็ก

โปรดอ่านข้อมูลเกี่ยวกับสารและวัตถุเจือปนอาหารอันตรายที่เรากำลังจะบอกคุณต่อไปนี้ และอย่าลืมอ่านฉลากก่อนซื้ออาหารให้ลูกคราวหน้า

อาหารอันตราย

อาหารอันตราย

นอกจากปริมาณน้ำตาลและไขมันแล้ว คุณยังควรระวังเรื่องวัตถุเจือปนที่อยู่ในอาหารที่ลูกกินด้วยเช่นกัน สารบางตัวเป็นอันตรายต่อเด็กเล็ก เช่นทำให้พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงกระทันหัน หรือเป็นอันตรายต่อเซลล์ในร่างกาย

วัตถุเจือปนอาหารคืออะไร?

มันคือสารเคมีหรือสารประกอบธรรมชาติที่ผู้ผลิตใส่ลงไปในอาหารเพื่อรักษารสชาติและหน้าตาของอาหาร เช่นสารกันบูด ซึ่งทำให้อาหารอยู่ได้นานขึ้น

วัตถุเจือปนอาหารเป็นอันตรายต่อเด็กอย่างไร?

วัตถุเจือปนอาหารบางชนิดสามารถทำให้เกิดอาการไฮเปอร์ได้ ในขณะที่บางตัวอาจทำให้สมองทำงานผิดปกติหรือเกิดอาการแพ้อย่างรุนแรง

วัตถุเจือปนอาหาร 5 ชนิดที่พบบ่อยที่คุณควรระวัง

1.  สีผสมอาหาร สารใด ๆ ที่ขึ้นต้นด้วย FD&C (เช่น FD&C Blue #1) คือสีผสมอาหาร มักพบในลูกกวาด ธัญพืชอาหารเช้า หรือแม้แต่โยเกิร์ต การบริโภคต่อเนื่องในระยะยาวอาจทำให้เป็นไมเกรน และมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้
2.  วัตถุกันเสีย เช่น บิวทิเลตเต็ดไฮดร็อกซีอะนิโซล (butylatedhydroxyanisole) หรือ BHA, โซเดียม ไนเตรต (sodium nitrate) และ โซเดียม เบนโซเอต (sodium benzoate) พบบ่อยในเยลลี่, เนยเทียม, แยม และน้ำอัดลม สารเหล่านี้อาจทำให้เกิดอาการวิงเวียน หายใจไม่ทัน และเกิดแผลในกระเพาะอาหาร
3.  สารให้ความหวานแทนน้ำตาล เช่น แอสปาแตม (aspartame), อะซิซัลเฟม-เค (acesulfame-K), แซคคาริน (saccharin) พบได้ในน้ำอัดลมแบบไดเอท เครื่องดื่มและน้ำผลไม้กล่อง ขวด หรือกระป๋อง ผลการวิจัยหลายชิ้นชี้ว่าการบริโภคสารประเภทนี้ในระยะยาวหรือมากเกินไปจะทำให้เกิดความผิดปกติในตับ และหายใจไม่สะดวก
4.  น้ำตาลดัดแปลง ไฮฟรุกโตสคอร์นไซรัป (HFCS), น้ำตาลข้าวโพด และ เด็กซ์โตรส คือน้ำตาลที่ดัดแปลงมาจากน้ำตาลธรรมชาติ มักผสมอยู่ในน้ำอัดลม, ขนมปังกรอบ, ซอสมะเขือเทศ และแม้แต่อาหาร “เพื่อสุขภาพ” เช่นน้ำสลัด หรือขนมธัญพืชต่าง ๆ การบริโภค HFCS มากเกินไปจะทำให้อ้วน เป็นโรคตับ และมีโอกาสเป็นเบาหวานสูง
5.  เกลือ ถึงเราจะใช้เกลือ ซีอิ๊ว น้ำปลาประกอบอาหารกันเป็นปกติ แต่การได้รับเกลือในปริมาณที่มากเกินไปจากอาหารสำเร็จรูปและขนมขบเคี้ยวต่าง ๆ อาจเป็นอันตรายต่อไตได้ เด็กที่กินของเค็มจัดมากเกินไปเสี่ยงเป็นโรคไตและโรคหัวใจ พยายามเลี่ยงอาหารรสเค็มจัดและบริโภคแต่น้อย

คุณพ่อคุณแม่ควรอ่านฉลากก่อนซื้ออาหารทุกครั้งเพื่อหลีกเลี่ยงส่วนประกอบที่เป็นอันตรายเหล่านี้ ถ้าลูกมีอาการผิดปกติ ให้รีบพาไปหาหมอทันที

บทความจากพันธมิตร
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
ชี้เป้า ประกันสุขภาพลูก ลดภาระทางการเงินเมื่อลูกเจ็บป่วย ช่วยให้ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด
ชี้เป้า ประกันสุขภาพลูก ลดภาระทางการเงินเมื่อลูกเจ็บป่วย ช่วยให้ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10

น้ำตาล: ภัยร้ายใกล้ตัวลูก

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • อาหารอันตรายสำหรับเด็ก
แชร์ :
  • อาหารที่เด็กเล็กไม่ควรกิน อาหารอันตรายกินแล้วลูกเสี่ยงตาย-พัฒนาการช้า

    อาหารที่เด็กเล็กไม่ควรกิน อาหารอันตรายกินแล้วลูกเสี่ยงตาย-พัฒนาการช้า

  • ระวัง! อาหารอันตรายเสี่ยงติดคอลูกวัย 1-2 ปี

    ระวัง! อาหารอันตรายเสี่ยงติดคอลูกวัย 1-2 ปี

  • อาหารที่เด็กเล็กไม่ควรกิน อาหารอันตรายกินแล้วลูกเสี่ยงตาย-พัฒนาการช้า

    อาหารที่เด็กเล็กไม่ควรกิน อาหารอันตรายกินแล้วลูกเสี่ยงตาย-พัฒนาการช้า

  • ระวัง! อาหารอันตรายเสี่ยงติดคอลูกวัย 1-2 ปี

    ระวัง! อาหารอันตรายเสี่ยงติดคอลูกวัย 1-2 ปี

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจไปให้กับคุณ