X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เปิดผลสำรวจเรื่อง การสอนลูกเรื่องเงินในเอเชีย สำหรับพ่อแม่สอนลูกเรื่องเงินในรูปแบบ ผู้พิทักษ์

บทความ 3 นาที
เปิดผลสำรวจเรื่อง การสอนลูกเรื่องเงินในเอเชีย สำหรับพ่อแม่สอนลูกเรื่องเงินในรูปแบบ ผู้พิทักษ์

การสอนลูกเรื่องเงินในเอเชีย มีความแตกต่างกันทั้งสิ้น 5 รูปแบบ โดยในบทความนี้จะกล่าวถึง การสอนลูกเรื่องเงิน ในรูปแบบของ ผู้พิทักษ์ (PRESERVER)

ผลสำรวจเรื่อง การสอนลูกเรื่องเงินในเอเชีย จัดทำโดย อีสต์สปริง อินเวสต์เมนต์ส ทำการสำรวจพ่อแม่ และผู้ปกครอง จำนวน 10,000 คน จาก 9 ประเทศในเอเชีย เพื่อดูว่าพ่อแม่ผู้ปกครองในภูมิภาคนี้ สอนให้ลูกรู้เรื่องเงินอย่างไร

จากผลการสำรวจ เผยให้เห็นรูปแบบ การสอนลูกเรื่องเงินในเอเชีย ที่แตกต่างกันทั้งสิ้น 5 รูปแบบ โดยวัดจากการเข้าไปมีส่วนร่วมของผู้แม่ผู้ปกครอง การให้ความสำคัญเรื่องการสอนลูกเรื่องเงิน และระดับความรู้เรื่องการเงินของพ่อแม่ผู้ปกครองในเอเชีย

โดยในบทความนี้จะกล่าวถึง การสอนลูกเรื่องเงิน ในรูปแบบของ ผู้พิทักษ์ (PRESERVER)

 

ผู้พิทักษ์ (PRESERVER)

ผู้พิทักษ์เห็นคุณค่าของเงิน สนับสนุนหลักการที่ดีในการทำงาน และรวมถึงอิสระทางการเงินด้วย ทั้งยังให้ความสำคัญของการเก็บออม และหลีกเลี่ยงการเป็นหนี้ ซึ่งยกประเด็นหลักในเรื่องการจัดการการเงินของคนกลุ่มนี้ 

การหาเงินด้วยน้ำพักน้ำแรงของตัวเองก็เป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง และคุ้มค่ากับความพยายามอีกด้วย สิ่งเหล่านี้คือค่านิยมที่พ่อแม่แบบผู้พิทักษ์อยากส่งต่อให้กับลูก

โดยส่วนใหญ่แล้ว ผู้พิทักษ์จะพูดว่า “ไม่มีอะไรมาแทนประสบการณ์ในชีวิตจริงได้ แต่พ่อแม่ผู้ปกครองก็ควรให้คำแนะนำสักหน่อย เพื่อที่ลูกจะได้รู้ว่าควรทำอะไรกับเรื่องเงิน”

 

คนกลุ่มนี้สอนลูกอย่างไร

ผู้พิทักษ์เชื่อว่าต้องมีวินัยในระดับหนึ่งเพื่อออมเงิน เพราะการมีหนี้มันทำให้พวกเขารู้สึกไม่สบายใจเป็นอย่างมาก นี่เป็นเหตุผลว่าทำไมผู้พิทักษ์ส่วนใหญ่เปิดบัญชีออมเงินให้ลูกตั้งแต่เกิด เพื่อลดความเสี่ยงในการเป็นหนี้

การสอนลูกเรื่องเงินในเอเชีย

 

ถือเป็นก้าวสำคัญของพ่อแม่ ที่จะชี้ให้เห็นความมุ่งมั่นทุ่มเทในการสอนลูกเรื่องการออมตั้งแต่ยังเล็ก เพื่อที่จะได้รู้สึกมั่นคง และพึงพอใจได้อย่างรวดเร็ว กับการที่มีเงินอยู่ในธนาคาร

พ่อแม่แบบผู้พิทักษ์ เชื่อว่า ทุกคนต้องทำงานหนักเพื่อให้ได้มาซึ่งความมั่นคงทางการเงิน และลูกของพวกเขาก็ควรมีมุมมองต่อการทำงานแบบเดียวกันด้วย พวกเขาจึงสนับสนุนลูกอย่างต่อเนื่อง ให้ลูกหางานเสริม เพื่อที่ลูกจะได้ทำงานหาเงิน และที่สำคัญไปกว่านั้น ลูกจะได้เรียนรู้คุณค่าของเงินผ่านประสบการณ์ของตัวเองด้วย

การสอนลูกเรื่องเงินในเอเชีย

 

ส่วนผสมของการแนะนำให้ลูกออม กับการสนับสนุนให้ลูกเรียนรู้ และหาเงิน เป็นสิ่งที่ผู้พิทักษ์ทำ พวกเขาจึงหวังว่าการสอนลูกเรื่องเงินในแบบของพวกเขา จะทำให้ลูกสามารถตั้งตัวสู่ความสำเร็จด้านการเงิน เพื่อประสบความสำเร็จในอนาคตได้ 

เมื่อพูดถึงเรื่องการสอนลูกเรื่องเงิน ผู้พิทักษ์เชื่อว่าทั้งพ่อและแม่ต่างก็มีบทบาทเหมือนกัน ซึ่งบางครอบครัวเลือกให้แม่เป็นผู้นำถึง 28% ในขณะที่อีก 11% เลือกให้พ่อเป็นผู้นำ

การสอนลูกเรื่องเงินในเอเชีย

เป้าหมายในการสอนลูกเรื่องเงินของคนกลุ่มนี้

หลีกเลี่ยงการเป็นหนี้ และมีเงินสำหรับเลี้ยงดูตัวเองได้ คือเป้าหมายหลักที่คนกลุ่มนี้มีให้ลูก ความปลอดภัย และความมั่นคงเป็นสิ่งที่สำคัญสุด ๆ สำหรับผู้พิทักษ์ เพราะฉะนั้นมันจึงเป็นประเด็นหลักของเป้าหมายในเรื่องการสอนลูกเรื่องเงิน สำหรับตัวพวกเขาเอง และสำหรับลูกด้วย 

สำหรับผู้พิทักษ์ เรื่องนี้รวมไปถึงการมีบ้านที่มั่นคง เพื่อเป็นรากฐานที่มั่นคงทางการเงินให้กับครอบครัวและลูก ประกันชีวิตเป็นสิ่งสำคัญสุด ๆ ที่ให้ความมั่นคงกับทั้งครอบครัว บัญชีออมเงินสำหรับทุกคนก็เป็นสิ่งสำคัญด้วย ไม่ใช่แค่เพื่อให้ความมั่นคงทางการเงินที่แท้จริง แต่ยังตอบโจทย์ทางด้านจิตใจด้วย

ผู้พิทักษ์เชื่อว่า ถ้าพวกเขาสามารถมอบทั้งสามองค์ประกอบของความมั่นคงให้ลูกได้ ลูกก็จะมีอิสระในการลอง และเรียนรู้ด้วยตัวเอง ซึ่งจะนำไปสู่การเรียนรู้ที่จะใช้เงินอย่างรอบคอบ เก็บออมเงิน และพึ่งพาตนเองทางการเงินได้

 

ความสำเร็จในการสอนลูกเรื่องเงินของพ่อแม่แบบผู้พิทักษ์

อย่างไรก็ตาม พ่อแม่ผู้ปกครองแบบผู้พิทักษ์ส่วนใหญ่ ไม่แน่ใจว่าพวกเขาทำหน้าที่สอนลูกเรื่องเงินได้ดีหรือเปล่า จริง ๆ แล้วคือ ไม่มีใครมั่นใจเลยว่าทำได้ดีหรือเปล่า โดยอ้างอิงจากผลสำรวจเรื่องการสอนลูกเรื่องเงินในเอเชีย ส่วนใหญ่แล้วพวกเขาจะบอกว่า “เราทำดีที่สุดแล้ว แต่ไม่แน่ใจว่าทำได้ดีแค่ไหน”

การสอนลูกเรื่องเงินในเอเชีย

 

นี่เป็นแค่ส่วนหนึ่ง เพราะว่าสำหรับจุดมุ่งหมายในการทำให้ลูกพึ่งพาตนเองได้และมีค่านิยมในการจัดการเงินที่ถูกต้อง มันต้องใช้เวลาถึงค่อย ๆ เห็นผล

 

พวกเขารู้เรื่องเงินดีแค่ไหน?

ผู้พิทักษ์ส่วนใหญ่ไม่เคยเรียนเรื่องการลงทุน และไม่เคยใช้เครื่องมือทางการเงิน นี่จึงเป็นเหตุผลว่าทำไมพวกเขาไม่คิดว่าควรสอนหรือไม่คิดว่าควรสอนสิ่งอื่นใดที่มากไปกว่าการหาเงิน ออมเงิน งบใช้จ่าย และการปลอดหนี้

อย่างไรก็ตาม พ่อแม่ผู้ปกครองแบบผู้พิทักษ์มีแนวโน้มที่จะปรึกษาครอบครัว หรือหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

การสอนลูกเรื่องเงินในเอเชีย

 

ถามว่าผู้พิทักษ์อยากมีความรู้เรื่องการเงินมากขึ้นไหม ก็ขอบอกว่าใช่ เกือบครึ่งของคนกลุ่มนี้ บอกว่าอยากมีความรู้มากขึ้น (47%)

แต่ถึงแม้ว่าพวกเขาจะรู้เรื่องการจัดการเงินมากมาย แต่วิธีการสอนลูกเรื่องเงินก็ไม่เปลี่ยน การเรียนรู้เรื่องพื้นฐานที่ช่วยเสริมความมั่นคงทางการเงิน สำคัญมากกว่าการสอนลูกให้ลงทุนในกองทุน หุ้น ตราสารหนี้ และอื่นๆ พวกเขาเชื่อว่าถ้าสอนเรื่องพื้นฐานให้ลูกแล้ว ทุกอย่างก็จะไปได้ดี

 

ถ้าคุณเป็นผู้พิทักษ์ที่สงสัยว่าพ่อแม่ผู้ปกครองคนอื่นสอนลูกเรื่องเงินยังไง ลองเข้าไปดูที่ #MoneyParenting เว็บไซต์ หรือกดรับข่าวสารจากเรา เพื่อให้ไม่พลาดข้อมูลข่าวสารล่าสุดจากเรา

 

 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • /
  • เปิดผลสำรวจเรื่อง การสอนลูกเรื่องเงินในเอเชีย สำหรับพ่อแม่สอนลูกเรื่องเงินในรูปแบบ ผู้พิทักษ์
แชร์ :
  • ป้องกันลูกน้อยจากโรงรถ ห้องน้ำ ห้องครัว ห้องซักรีด ป้องกันอย่างไรจึงปลอดภัย

    ป้องกันลูกน้อยจากโรงรถ ห้องน้ำ ห้องครัว ห้องซักรีด ป้องกันอย่างไรจึงปลอดภัย

  • จำเป็นไหม ที่จะต้องสอนเรื่องความสมดุลระหว่างการเก็บออมและการใช้จ่าย

    จำเป็นไหม ที่จะต้องสอนเรื่องความสมดุลระหว่างการเก็บออมและการใช้จ่าย

  • อบรมให้ลูกมีความรู้เรื่องเงิน อย่างไร

    อบรมให้ลูกมีความรู้เรื่องเงิน อย่างไร

  • ป้องกันลูกน้อยจากโรงรถ ห้องน้ำ ห้องครัว ห้องซักรีด ป้องกันอย่างไรจึงปลอดภัย

    ป้องกันลูกน้อยจากโรงรถ ห้องน้ำ ห้องครัว ห้องซักรีด ป้องกันอย่างไรจึงปลอดภัย

  • จำเป็นไหม ที่จะต้องสอนเรื่องความสมดุลระหว่างการเก็บออมและการใช้จ่าย

    จำเป็นไหม ที่จะต้องสอนเรื่องความสมดุลระหว่างการเก็บออมและการใช้จ่าย

  • อบรมให้ลูกมีความรู้เรื่องเงิน อย่างไร

    อบรมให้ลูกมีความรู้เรื่องเงิน อย่างไร

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจไปให้กับคุณ