X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

อหิวาตกโรค แบคทีเรียตัวร้ายที่ไม่ใช่แค่อาการท้องเสีย เช็คอาการและวิธีรักษา

บทความ 5 นาที
อหิวาตกโรค แบคทีเรียตัวร้ายที่ไม่ใช่แค่อาการท้องเสีย เช็คอาการและวิธีรักษา

ท้องเสียมาก ถ่ายเหลว คลื่นไส้ อาเจียน อย่าปล่อยไว้ เพราะนี่อาจเป็นสัญญาณของการติดเชื้อ หรือ เป็นโรค อหิวาตกโรค ได้ มาดูวิธีสังเกตอาการ สาเหตุของโรค และ วิธีการรักษา อย่าปล่อยไว้เด็ดขาด เพราะโรคนี้หากไม่ได้รับการรักษา อาจอันตรายถึงชีวิตได้!

 

อหิวาตกโรค คืออะไร?

โรคอหิวาตกโรค (Cholera) คือ โรคท้องร่วงรุนแรง ที่มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่เรียกว่า วิบริโอ โคเลอรี (Vibrio Cholerae) ที่อยู่ภายในลำไส้ ผู้ป่วยโรคนี้อาจได้รับเชื้อจากการทานอาหาร หรือ การดื่มน้ำ ที่มีการปนเปื้อนของแบคทีเรียอยู่ ระดับอาการของโรคอาจมีความเบา หรือ รุนแรง ขึ้นอยู่กับการรับเชื้อ โดยประมาณร้อยละ 5-10 ของผู้ป่วย มีอาการรุนแรง เช่น การถ่ายเหลว อาเจียน ทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำ และเกลือแร่อย่างรวดเร็ว จนอาจทำให้เกิดภาวะขาดน้ำ และทำให้ช็อคได้ อาการสามารถรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต หากผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษา

อหิวาตกโรค

อหิวาตกโรครุนแรงแค่ไหน?

โรคอหิวาตกโรค เป็นโรคที่มีแบคทีเรียร้ายแรง ที่มีผลให้เกิดอาการท้องร่วงรุนแรง และในผู้ป่วยที่รับประทานอาหาร หรือ เครื่องดื่มที่มีเชื้อปนเปื้อนอยู่ ซึ่งเมื่อได้รับแบคทีเรียเข้าไป จะแสดงอาการของโรคภายใน 12 ชั่วโมง หรือ อาจนานถึง 5 วัน ภายหลังจากที่ลำไส้ ได้ทำการดูดซึมอาหารเข้าไปแล้ว ซึ่งคนส่วนใหญ่ที่ติดเชื้อ อาจไม่ปรากฎอาการป่วย เพราะเชื้อจะอยู่ในอุจจาระเท่านั้น และเชื้อจะอยู่ในร่างกายประมาณ 7-14 วัน สำหรับผู้ที่ได้รับเชื้อ มักปรากฎอาการของโรคได้ตั้งแต่ระดับอ่อน ไปจนถึงขั้นรุนแรง

 

สาเหตุของอหิวาตกโรค

อหิวาตกโรค เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า “วิบริโอ โคเลอรี (Vibrio Cholerae)” โดยแบคทีเรียนี้ จะผลิตสารพิษซิกัวทอกซิน ในลำไส้เล็ก ซึ่งพิษนี้จะไปเกาะที่ผนังลำไส้ และรวมกับโซเดียมคลอไรด์ ทำให้เกิดการกระตุ้นร่างกาย ให้ทำการขับน้ำออกจากตัว ทำให้เกิดอาการท้องร่วง จนเกิดการสูญเสียน้ำ และเกลือแร่ในเลือดกระทันหัน

 

เชื้ออหิวาตกโรค มักพบในอาหาร หรือ น้ำ ที่มีการปนเปื้อนสิ่งปฏิกูลที่มีเชื้ออยู่ แหล่งที่สามารถพบเชื้อได้จึงมักมาจากน้ำ อาหารบางอย่าง เช่น อาหารทะเล ผัก ผลไม้ ธัญพืชต่าง ๆ

 

อาการของอหิวาตกโรค

1. ท้องร่วง

อาการท้องร่วงที่เกิดจากเชื้ออหิวาตกโรค อาจทำให้เกิดการสูญเสียของเหลวในร่างกาย ซึ่งมีความอันตราย ผู้ป่วยอาจสูญเสียน้ำในร่างกาย อาจมากกว่า 1 ลิตร ภายใน 1 ชั่วโมง โดยในอุจจาระอาจมีเกล็ดสีขาวที่เป็นเมือก ซึ่งเป็นเนื่อเยื่อในกระเพาะอาหาร

 

2. คลื่นไส้ อาเจียน

ผู้ป่วยอาจมีอาการคลื่นไส้ อยากอาเจียน ซึ่งมักเกิดในช่วงแรงของการเกิดโรค

 

3. ภาวะขาดน้ำ

ผู้ป่วยอาจเกิดภาวะขาดน้ำ ซึ่งอาจมีความรุนแรงต่างกันออกไป โดยภาวะขาดน้ำจะเกิดหลังจากที่ผู้ป่วยมีอาการท้องร่วง ขับถ่ายเป็นจำนวนมาก หากผู้ป่วยมีการสูญเสียน้ำไปมากกว่าร้อยละ 10 ของน้ำหนักตัว ก็อาจเกิดภาวะขาดน้ำรุนแรง และช็อคได้

 

4. ภาวะอิเล็กโทรไลต์

ภาวะอิเล็กโทรไลต์มักเกิดเมื่อร่างกายสูญเสียเกลือแร่อย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นผลมาจากภาวะขาดน้ำ ทำให้เกิดอาการต่าง ๆ ดังนี้

  • เป็นตะคริว ผู้ป่วยอาจเป็นตะคริว เนื่องจากร่างกายสูญเสียเกลือแร่อย่างกระทันหัน เช่น โซเดียมคลอไรด์ หรือ โพแทสเซียม
  • เกิดอาการช็อค เป็นภาวะแทรกซ้อนจากอาการขาดน้ำรุนแรง เมื่อเลือดในร่าสงกายต่ำลง ทำให้ความดันเลือด และออกซิเจนในร่างกายต่ำลงด้วย หากไม่ได้รับการรักษา อาจทำให้เสียชีวิตได้

 

5. อาการข้างเคียงอื่น ๆ

อหิวาตกโรค อาจมีอาการข้างเคียงอื่น ๆ เช่น หงุดหงิดง่าย ซึม ตาโหล ริมฝีปากแห้ง กระหายน้ำ ผิวเหี่ยว แห้ง ผิวขาดน้ำ ความดันโลหิตต่ำ และหัวใจเต้นผิดจังหวะ

อหิวาตกโรค

การรักษาอหิวาตกโรค

  • รับประทานเกลือแร่

ซึ่งจะช่วยให้ร่างกายได้รับเกลือแร่ทดแทน จากที่เสียไป โดยแพทย์จะให้รับประทานผลละลายเกลือแร่ ที่ผสมในน้ำต้มสุก

  • การให้สารน้ำทดแทน

หากร่างกายเกิดภาวะขาดน้ำ และเกลือแร่มากเกินไป จำเป็นจะต้องได้รับสารน้ำทางน้ำเกลือ เพื่อทดแทนภาวะขาดน้ำ และเกลือแร่ อีกทั้งยังเพื่อรักษาภาวะช็อคจากการขาดน้ำเฉียบพลัน

  • การใข้ยาปฏิชีวนะ

ตัวยาบางตัว อาจลดจำนวนและระยะเวลาของอาการท้องร่วง ที่มีเชื้อของโรคได้ ตัวยาบางตัวอาจมีประสิทธิภาพในการรักษาอาการท้องร่วงได้ดี

  • การให้แร่ธาตุสังกะสี

ธาตุสังกะสีอาจช่วยลดและย่นระยะเวลาของอาการท้องร่วงในเด็กได้

 

บทความจากพันธมิตร
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell

อหิวาตกโรค เป็นโรคที่ติดเชื้อรุนแรง และอาจส่งผลถึงชีวิตได้ หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที หากมีอาการท้องร่วงรุนแรง ร่างกายเสียน้ำมาก ควรพบแพทย์ทันที เพื่อลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น การช็อค หมดสติได้

 

ที่มาข้อมูล 1

บทความที่น่าสนใจ

มีอาการท้องเสีย เมื่อมีอาการท้องเสียทำอย่างไร ท้องร่วงสิ่งที่ควรกินและไม่ควรกิน

อาเจียน ท้องเสีย เสี่ยงติดเชื้อโนโรไวรัส ที่กำลังระบาดหนัก

ทารกท้องเสีย ถ่ายบ่อย ถ่ายเหลว เกิดจากสาเหตุใด ดูแลรักษายังไงดี

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Waristha Chaithongdee

  • หน้าแรก
  • /
  • เจ็บป่วย
  • /
  • อหิวาตกโรค แบคทีเรียตัวร้ายที่ไม่ใช่แค่อาการท้องเสีย เช็คอาการและวิธีรักษา
แชร์ :
  • การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระหว่างตั้งครรภ์ ปลอดภัยหรือไม่?

    การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระหว่างตั้งครรภ์ ปลอดภัยหรือไม่?

  • ประโยชน์ของไลโคปีน มีอะไรบ้าง ไลโคปีนป้องกันมะเร็งต่อมลูกหมากได้จริงไหม?

    ประโยชน์ของไลโคปีน มีอะไรบ้าง ไลโคปีนป้องกันมะเร็งต่อมลูกหมากได้จริงไหม?

  • เล็บคนท้อง ยาวไวกว่าปกติจริงไหม อยากเล็บสวยฟาด! แม่ท้องทำเล็บได้หรือเปล่า

    เล็บคนท้อง ยาวไวกว่าปกติจริงไหม อยากเล็บสวยฟาด! แม่ท้องทำเล็บได้หรือเปล่า

  • การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระหว่างตั้งครรภ์ ปลอดภัยหรือไม่?

    การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระหว่างตั้งครรภ์ ปลอดภัยหรือไม่?

  • ประโยชน์ของไลโคปีน มีอะไรบ้าง ไลโคปีนป้องกันมะเร็งต่อมลูกหมากได้จริงไหม?

    ประโยชน์ของไลโคปีน มีอะไรบ้าง ไลโคปีนป้องกันมะเร็งต่อมลูกหมากได้จริงไหม?

  • เล็บคนท้อง ยาวไวกว่าปกติจริงไหม อยากเล็บสวยฟาด! แม่ท้องทำเล็บได้หรือเปล่า

    เล็บคนท้อง ยาวไวกว่าปกติจริงไหม อยากเล็บสวยฟาด! แม่ท้องทำเล็บได้หรือเปล่า

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ