X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

พัฒนาการทารก: ก้าวแรกของลูกน้อย

บทความ 3 นาที
พัฒนาการทารก: ก้าวแรกของลูกน้อย

ส่วนหนึ่งของพัฒนาการทารกคือเมื่อคุณเห็นลูกน้อยออกเดินก้าวแรก เรามีคำแนะนำเล็ก ๆ น้อย ๆ สำหรับคุณพ่อคุณแม่ในการช่วยให้ลูกของคุณเริ่มก้าวเดินกัน

พัฒนาการทารก: ก้าวแรกของลูกน้อย

พัฒนาการทารก: ก้าวแรกของลูกน้อย

คุณพ่อคุณแม่และพี่เลี้ยงเด็กสามารถช่วยกระตุ้นให้เด็กมีพัฒนาการในการเดินได้ แต่ไม่มีผู้ใหญ่คนไหนสามารถสอนให้เด็กเดินได้จนกว่าเด็กจะพร้อมทั้งทางร่างกาย อารมณ์ และความคิด

ลูกของคุณแค่ต้องการความมั่นใจและบางทีก็การสัมผัสอย่างอ่อนโยนจากคุณที่อยู่ข้างกายเพื่อที่จะก้าวเดินก้าวแรกของชีวิตด้วยตัวเองได้

เรามีเคล็ดลับเล็ก ๆ น้อย ๆ ให้คุณใช้ช่วยกระตุ้นให้ลูกรักออกก้าวเดินกันดังนี้

การออกกำลังกายสำหรับทารกแบบเบา ๆ

ก่อนที่ลูกจะก้าวเดินเองได้คุณสามารถช่วยบริหารกล้ามเนื้อของลูกได้โดยการนวดเบา ๆ ให้ลูกใช้เวลานอนคว่ำอย่างน้อยวันละ 30 นาทีต่อวันเพื่อให้กล้ามเนื้อคอและหลังแข็งแรงขึ้น

เสริมความแข็งแรงกล้ามเนื้อขา

ทารกจะสามารถเอาตัวเองเข้าใกล้กับสิ่งต่าง ๆ เพื่อยึดจับทั้งเครื่องเรือน ขาของคุณ หรืออะไรก็ตามที่ช่วยค้ำยันตัวเองได้ เมื่อลูกเริ่มคุ้นเคยแล้ว เด็กก็จะเริ่มยืนเองโดยไม่มีอะไรค้ำยัน สิ่งนี้เกิดขึ้นได้ในช่วงเดือนที่ 7 ถึง 12 ของชีวิตทารก การพยายามยืนเองลักษณะนี้สามารถช่วยเสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาในการก้าวเดินโดยไม่ยึดจับกับอะไรต่อไป

พัฒนาการเด็กทารก 0-1 ปี

สนับสนุนลูกของคุณ

ให้กำลังใจลูก จับมือลูกไว้ และเดินตามหลังลูก การใช้ของเล่นล้อลากหรือรถคันจิ๋วก็สามารถช่วยให้ลูกเดินด้วยตัวเองได้เช่นกัน พยายามหลีกเลี่ยงการใช้รถหัดเดินเพราะอาจทำให้บาดเจ็บได้

กระตุ้นให้ลูกนั่งและเอียงตัว

ในช่วงสี่เดือน ลูกจะเริ่มนั่งเมื่อมีอะไรหนุนหลัง และในช่วงหกเดือนลูกอาจสามารถนั่งได้ด้วยตัวเอง คุณพ่อคุณแม่สามารถช่วยให้ลูกนั่งพิงกับคุณพ่อคุณแม่ได้โดยใช้มือคอยจับลูกไว้

คุณอาจใช้ของเล่นเข้าหลอกล่อในระยะที่ลูกเอื้อมมือไม่ถึงเพื่อกระตุ้นให้ลูกเอียงตัวเอี้ยวตัวไปทิศทางต่าง ๆ การทำเช่นนี้จะช่วยเสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและการประสานงานของอวัยวะ

เอาสิ่งต่าง ๆ วางให้ลูกเอื้อมไม่ถึง

การวางสิ่งของให้ไกลขึ้นจะช่วยกระตุ้นให้ลูกเคลื่อนไหวมากยิ่งขึ้น คุณสามารถวางของเล่นหรือถือขนมในระยะที่ห่างออกไปเล็กน้อยเพื่อกระตุ้นให้ลูกได้ขยับมากขึ้นไปหาของที่ต้องการ คุณสามารถให้กำลังใจความพยายามของลูกได้โดยการกอดและหอม

คุณอาจต้องตรวจสอบเรื่องความปลอดภัยของสิ่งต่าง ๆ หรือติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันการบาดเจ็บรอบ ๆ บ้านเมื่อลูกคุณเริ่มเคลื่อนไหวไปตามจุดต่าง ๆ ในบ้านมากขึ้น

บ้านคุณปลอดภัยกับลูกแค่ไหน

พาลูกไปร่วมเดินเล่นในสวนสาธารณะ

การพาลูกไปสวนสาธารณะให้ลูกเห็นเด็ก ๆ คนอื่น ๆ เดินและวิ่งไปมาจะช่วยกระตุ้นให้ลูกอยากเดินบ้างได้เหมือนกัน เมื่อลูกพยายามเดินในช่วงแรกลูกจะหกล้มและหงุดหงิด แต่การกระตุ้นอย่างเป็นประจำจะช่วยให้ลูกอุ่นใจมีกำลังใจมากยิ่งขึ้น

อย่าเปรียบเทียบ

จำไว้ว่าเด็กทารกทุกคนไม่เหมือนกัน เด็กทารกแต่ละคนจะสามารถทำสิ่งต่าง ๆ ได้ในเวลาที่แตกต่างกัน อาจเป็นเพราะน้ำหนักตัวหรือบุคลิกของเด็กแต่ละคน อย่าหงุดหงิดหรือผิดหวังหากลูกของคุณยังไม่เติบโตไปถึงในจุดใดจุดหนึ่งของพัฒนาการทารก

ได้ความมั่นใจ

เมื่อผ่านไประยะหนึ่งแล้ว ลูกของคุณจะมีความมั่นใจมากเพียงพอที่จะก้าวเดินด้วยตัวเอง คุณควรกระตุ้นให้ลูกเดินจากคุณไปหาคนอีกคนหนึ่ง เด็กส่วนมากจะสามารถออกเดินก้าวแรกในช่วงเดือนที่ 9 ถึงเดือนที่ 13 และจะสามารถเดินได้อย่างมั่นคงมากยิ่งขึ้นในช่วงเดือนที่ 14 ถึง 17

ปรึกษาแพทย์

อย่าอายที่จะต้องไปพบกับกุมารแพทย์หากลูกของคุณยังเดินไม่ได้ หรือมีพัฒนาการการเดินที่เชื่องช้ากว่าปกติ หากลูกของคุณยังไม่สามารถยึดจับกับอะไรเพื่อเริ่มก้าวเดินแล้วล่ะก็ คุณอาจต้องใช้การรักษาทางการแพทย์เข้าช่วยเหลือ การทดสอบอะไรบางอย่างอาจช่วยชี้ให้เห็นได้ว่าลูกของคุณมีปัญหาเรื่องพัฒนาการหรือไม่

ลำดับการขึ้นของฟันลูก

บทความจากพันธมิตร
51Talk แพลตฟอร์มเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ สำหรับเด็กอายุ 3-15 ปี ถือฤกษ์ดีประกาศเปิดสำนักงานในกรุงเทพฯ เพื่อเดินหน้าพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในประเทศไทย
51Talk แพลตฟอร์มเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ สำหรับเด็กอายุ 3-15 ปี ถือฤกษ์ดีประกาศเปิดสำนักงานในกรุงเทพฯ เพื่อเดินหน้าพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในประเทศไทย
แชร์กิจกรรมบำบัดเด็กสมาธิสั้น ตัวช่วยดี ๆ เพิ่มสมาธิให้ลูกรักมากขึ้น!
แชร์กิจกรรมบำบัดเด็กสมาธิสั้น ตัวช่วยดี ๆ เพิ่มสมาธิให้ลูกรักมากขึ้น!
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • พัฒนาการทารก: ก้าวแรกของลูกน้อย
แชร์ :
  • พ่อแม่ต้องรู้ ! รองเท้า คู่แรก ของลูกควรเลือกอย่างไรเพื่อให้ลูกใส่สบาย ปลอดภัย

    พ่อแม่ต้องรู้ ! รองเท้า คู่แรก ของลูกควรเลือกอย่างไรเพื่อให้ลูกใส่สบาย ปลอดภัย

  • ลูกหัดเดิน จะเริ่มฝึกตอนไหน ยังไงดี

    ลูกหัดเดิน จะเริ่มฝึกตอนไหน ยังไงดี

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • พ่อแม่ต้องรู้ ! รองเท้า คู่แรก ของลูกควรเลือกอย่างไรเพื่อให้ลูกใส่สบาย ปลอดภัย

    พ่อแม่ต้องรู้ ! รองเท้า คู่แรก ของลูกควรเลือกอย่างไรเพื่อให้ลูกใส่สบาย ปลอดภัย

  • ลูกหัดเดิน จะเริ่มฝึกตอนไหน ยังไงดี

    ลูกหัดเดิน จะเริ่มฝึกตอนไหน ยังไงดี

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว