X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ด่วนๆ ลูกในท้องไม่ดิ้น ทำไงดี

บทความ 3 นาที
ด่วนๆ ลูกในท้องไม่ดิ้น ทำไงดี

ด่วนๆ ลูกในท้องไม่ดิ้น ทำไงดี ต้องรีบไม่โรงพยาบาลไหม เกิดอะไรขึ้นกับลูก ถ้าไม่ดิ้นแค่ไหนถึงอันตราย ทำไงดีทำไงดี มีเรื่องอะไรที่ต้องรู้ ต้องรีบทำก่อนไหม

ด่วนๆ ลูกในท้องไม่ดิ้น ทำไงดี

ด่วนๆ ลูกในท้องไม่ดิ้น ทำไงดี ทำยังไงดีนะ ลูกจะเป็นอะไรไหม ต้องดูอะไรบ้าง รีบไปโรงพยาบาลดีไหมเนี่ย เพราะการคลอดก่อนกำหนดถือว่าเป็นสาเหตุการสูญเสียลูกน้อยที่พบได้มากที่สุด และเกิดขึ้นได้สูง 10-25% ของการตั้งครรภ์เลยทีเดียวค่ะ

ลูกดิ้นครั้งแรก

คุณแม่ส่วนใหญ่จะเริ่มรับรู้ว่าลูกมีการดิ้นอยู่ในท้องตั้งแต่สัปดาห์ที่ 28 เป็นต้นไปนะคะ แม้ทารกจะเคลื่อนไหวอยู่ในท้องคุณแม่มานานก่อนหน้านั้นก็ตามค่ะ แต่ตัวของลูกก็ยังเล็กเกินกว่าที่คุณจะสัมผัสถึง

หลังจากสัปดาห์ที่ 28 เป็นต้นไป แพทย์ส่วนใหญ่จึงแนะนำให้คุณแม่นับลูกดิ้นในแต่ละวัน เฉลี่ยแล้วประมาณ 10 ครั้ง ใน 2 ชั่วโมงค่ะ ลูกในท้องบางคนก็ชอบเวลาที่คุณพ่อคุณแม่ร้องเพลง หรือพูดคุยกับพวกเขา แน่นอนว่าถ้าทำกิจกรรมพวกนี้แล้ว คุณแม่ก็จะรับรู้ถึงการดิ้นของลูก

ด่วนๆ ลูกในท้องไม่ดิ้น ทำไงดี

ข้อดีของการนับครั้งที่ลูกดิ้น จะเป็นวิธีที่บอกได้ว่าลูกดิ้นน้อยลงไหม และในบางกรณีคุณแม่และลูกจะต้องได้รับการดูแลทางการแพทย์อย่างทันท่วงทีค่ะ

Advertisement

เมื่อไหร่ที่ต้องเริ่มกังวล

เด็กทารกในครรภ์ส่วนใหญ่จะมีรอบการนอนหลับประมาณครั้งละ 20-40 นาที และอาจนอนนานได้ถึง 75-90 นาที ดังนั้นโดยเฉลี่ยทุก 2 ชั่วโมง คุณแม่ควรรับรู้การดิ้นของลูกได้หลังจากทารกตื่นขึ้น และทารกมักจะดิ้นเยอะหลังคุณแม่ทานอาหาร 1-2 ชั่วโมงเพราะ นั่นอาจจะหมายถึงว่าลูกตื่นแล้ว ในหนึ่ง

ส่วนใหญ่แล้วการดิ้นของลูกจะนับหลังทานอาหารแต่ละมื้อ แบ่งเป็นมื้อเช้า มื้อกลางวัน และมื้อเย็นค่ะ โดยนับการดิ้นภายใน 1 ชั่วโมงหลังทานอาหาร หรือคุณแม่จะกินอะไรเย็นๆ หรือกินของหวานๆ ก็ได้ จะเป็นการกระตุ้นให้ลูกดื้นได้เหมือนกันนะคะ

ดิ้นช้าลงหรือดิ้นเร็วขึ้นก็ไม่ดี

หลังจากที่มีการกระตุ้นให้ลูกดิ้นแล้ว ในกรณีที่ลูกยังไม่ดิ้น หรือดิ้นน้อยกว่า 8-10 ครั้ง ใน 1 ชั่วโมง ถือว่าปกติค่ะ ถ้าลูกยังไม่ยอมดิ้นให้คุณแม่ลองปรับอิริยาบทดูเช่น การให้ลองนอนตะแคงซ้าย หากลูกยังไม่ดิ้นเพิ่มขึ้นในชั่วโมงถัดไปให้รีบไปโรงพยาบาลทันที อย่ารีรอและคิดว่าค่อยไปหาหมอช่วงเวลานัดครั้งต่อไป

ด่วนๆ ลูกในท้องไม่ดิ้น ทำไงดี

การดิ้นเร็วขึ้นก็ไม่ใช่เรื่องดี แพทย์จะตรวจทดสอบความเครียดประมาณ 20 นาที โดยใช้แถบตรวจสอบประเมินการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ร่วมกับพิจารณาการหดรัดของมดลูก

แต่ถ้าลูกไม่ดิ้นเลย ไม่ต้องเก็บของใดๆ ทั้งสิ้น ไม่ต้องโทรถามใครใดๆ แล้วค่ะ ไปโรงพยาบาลให้ด่วนที่สุดเลย

บทความจากพันธมิตร
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
4 อาการคนท้อง  ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
4 อาการคนท้อง ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้

ที่มา sheknows.com

บทความที่น่าสนใจ

แม่ท้องอย่านิ่งนอนใจ!!! ลูกไม่ดิ้น! หรือ ดิ้นน้อยลง! อาจเป็นสัญญาณร้ายลูกตายในท้อง

กิจกรรมที่ทำเเล้ว “ลูกไม่ดิ้น”

parenttown

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ด่วนๆ ลูกในท้องไม่ดิ้น ทำไงดี
แชร์ :
  • คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

    คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

  • ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

    ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

  • ไขข้อข้องใจ แพ้ท้องอยากกินของแปลก เพราะอะไร ปกติหรือเปล่า?

    ไขข้อข้องใจ แพ้ท้องอยากกินของแปลก เพราะอะไร ปกติหรือเปล่า?

  • คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

    คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

  • ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

    ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

  • ไขข้อข้องใจ แพ้ท้องอยากกินของแปลก เพราะอะไร ปกติหรือเปล่า?

    ไขข้อข้องใจ แพ้ท้องอยากกินของแปลก เพราะอะไร ปกติหรือเปล่า?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว