X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ให้ ลูกบุญธรรมดื่มนม ของคุณเองได้หรือไม่

บทความ 5 นาที
ให้ ลูกบุญธรรมดื่มนม ของคุณเองได้หรือไม่

เคยสงสัยบ้างไหมว่า คุณแม่จะให้ทารกที่ขอมาเลี้ยงกินนมแม่ได้หรือไม่ ลองดูกันนะคะว่าจะเป็นได้หรือไม่ และทารกน้อยจะได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอจากการกระตุ้นการสร้างน้ำนมหรือไม่

ให้ ลูกบุญธรรมดื่มนม ของคุณเองได้หรือไม่ เรามีคำตอบให้

ให้ ลูกบุญธรรมดื่มนม ของคุณเองได้หรือไม่

ให้ ลูกบุญธรรมดื่มนม ของคุณเองได้หรือไม่ หลายคนคงสงสัย เพราะการรับเด็กทารกมาเลี้ยงเป็นประสบการณ์ยาวนานที่น่าตื่นเต้น ให้ความรู้สึกอิ่มเอมตื้นตันใจ ทั้งยังแฝงด้วยความเครียดกังวล และ บีบคั้นหัวใจ คนที่ไม่เคยผ่านขั้นตอนการทำเรื่องขอรับลูกบุญธรรม หรือไม่เคยต้องช่วยลูกสาวหรือลูกสะใภ้ในการเตรียมร่างกายและจิตใจให้พร้อมเป็นคุณแม่ที่จะรับลูกบุญธรรม คงนึกภาพไม่ออกหรอกค่ะ อารมณ์เหมือนกับว่า ถ้าไม่ขึ้นรถไฟเหาะเองก็บรรยายไม่ถูกว่าเป็นอย่างไร

ให้ ลูกบุญธรรมดื่มนม ของคุณเองได้หรือไม่

ความคิดเห็น คำแนะนำ รวมถึงสายตาที่คอยจดจ้องที่คุณแม่บุญธรรมได้รับ ระหว่างที่รอคอยลูก และ ทันทีที่ได้รับลูกน้อย อาจเป็นสิ่งที่แสนเจ็บปวดและทำร้ายความรู้สึกกันอย่างแสนสาหัส สิ่งหนึ่งที่จะพบเจอได้เสมอก็คือ “ทำไมเธอไม่ให้ลูกกินนมเธอล่ะ” ดังนั้น การให้ ลูกบุญธรรมดื่ม ของคุณจึงเป็นอีกหนึ่งประเด็นที่ละเอียดอ่อนมาก

การกระตุ้นการสร้างน้ำนม 

ให้ ลูกบุญธรรมดื่มนม ของคุณเองได้หรือไม่

 

 

การกระตุ้นการสร้างน้ำนม เป็น การกระตุ้นให้ร่างกายผู้หญิงที่ไม่ได้ตั้งครรภ์ผลิตน้ำนมขึ้น โดยพื้นฐานแล้วคือการกระตุ้นเต้านมเพื่อให้ผลิตน้ำนม

ในอดีต การให้ลูกน้อยดูดเต้านมเป็นเพียงวิธีการเดียวที่จะช่วยกระตุ้นให้มีการผลิตน้ำนม โดย จะให้ทารกดูดเต้านมขณะที่เด็กไม่หิว แต่ เป็นวิธีการช่วยปลอบประโลมให้เด็กเกิดความอบอุ่นผ่อนคลายขึ้น

คุณแม่ที่ยังอยู่ในขั้นตอนการขอรับบุตรบุญธรรมในปัจจุบันนี้สามารถกระตุ้นเต้านมได้เป็นระยะเวลาหลาย ๆ เดือนล่วงหน้าโดยการใช้ที่ปั๊มเต้านม เมื่อปั๊มเต้านมวันละหลาย ๆ ครั้งเป็นเวลาหลายสัปดาห์ คุณแม่บุญธรรมส่วนใหญ่จะพบว่า เธอจะผลิตน้ำนมได้จำนวนเล็กน้อยก่อนที่เธอจะได้รับลูกบุญธรรมมาเลี้ยง

คุณหมออาจจ่ายฮอร์โมนที่ช่วยเพิ่มระดับฮอร์โมนสำหรับคุณแม่ให้ใกล้เคียงกับระดับฮอร์โมนช่วงตั้งครรภ์ เพื่อ ช่วยในการผลิตน้ำนม

ทำไม

เหตุผลในการกระตุ้นการสร้างน้ำนมสำหรับคุณแม่บุญธรรมมีอยู่หลายประการ คุณแม่บางคนต้องการให้ลูกน้อยที่เคยต้องอยู่ในสภาพแวดล้อมไม่ดีเท่าที่ควรได้รับประโยชน์จากน้ำนมแม่ บางคนเชื่อว่าการให้ลูกได้ดื่มนมจากแม่จะช่วยสร้างสายใยแห่งความรักความผูกพันที่แน่นแฟ้นระหว่างแม่ลูกได้ดียิ่งขึ้น และ บางคนเพียงแค่อยากสัมผัสประสบการณ์ให้นมลูก

แล้วน้ำนมที่สร้างจากการกระตุ้นนี้เพียงพอหรือไม่ ?

ให้ ลูกบุญธรรมดื่มนม ของคุณเองได้หรือไม่

young mother breast feeding her child

น้ำนมที่ได้จากการกระตุ้นไม่มีทางที่จะให้คุณค่าทางโภชนาการกับลูกน้อยได้อย่างเพียงพอ จะต้องใช้เวลายาวนานนักกว่าที่น้ำนมจะผลิตออกมาได้ในระดับนั้น แต่เป็นไปได้ที่จะให้น้ำนมแม่เป็นอาหารเสริม

ท้องแล้วยังให้นมลูกต่อได้ไหม ลูกคนโตยังไม่หย่านม น้องก็มารอในท้องแล้ว

ท้องแล้วยังให้นมลูกต่อได้ไหม ลูกคนโตยังไม่หย่านม น้องก็มารอในท้องแล้ว คุณแม่ที่มีลูกหัวปีท้ายปีอาจจะเจอกับประเด็นนี้ ก็ไม่แน่ใจจริงๆ ว่าจะต้องหย่านมแล้ว หรือไม่ กลัวลูกในท้องจะแท้ง แต่ก็กลัวลูกคนโตจะกินนมได้ไม่เต็มที่

หยุดให้นม หรือ ควรให้ต่อไป

เมื่อคุณตั้งครรภ์ขณะกำลังให้นมลูก คำถามที่เกิดขึ้นคือ ควรหยุดให้นมหรือควรให้ต่อไป เพราะ มีคุณแม่หลายคนยังให้นมลูกคนโตจนกระทั่งคลอดลูกคนเล็ก แล้วก็ให้ลูกทั้งสองมาดูดนมพร้อมกัน มองหน้ากันใกล้ชิดกันสร้างความผูกพันกันดีระหว่างพี่น้อง ขณะที่คุณแม่บางคนมีอาการปวดมดลูกเวลาที่ลูกคนโตดูดนม ทำให้ต้องเลิกดูดนมแม่ เพราะ เกรงว่าจะทำให้แท้งลูก ( ความจริงแล้ว สาเหตุส่วนใหญ่ของการแท้งเกิดจากโครโมโซมผิดปกติ หรือ ตัวอ่อนไม่สมบูรณ์ )

หย่านม ไม่ใช่แค่เหตุผลของแม่

ไม่มีคำตอบแน่นอนสำหรับ แต่ละการตั้งครรภ์ว่าควรหยุดหรือไม่ควรหยุด ควรเป็นการตัดสินใจสำหรับแต่ละครอบครัว เพราะไม่เพียงแต่เหตุผลเรื่องกลัวแท้งลูก แต่อาจเป็นจากเหตุผลอื่น เช่น ลูกไม่อยากดูดนมแม่ไปเอง เพราะ อิทธิพลของฮอร์โมนจากการตั้งครรภ์ ทำให้ปริมาณน้ำนมลดลงอย่างมาก เมื่อลูกดูดแล้ว ไม่ออก หรือ ไหลช้าไม่ทันใจ จึงไม่สนใจจะดูดอีกต่อไป หรือ คุณแม่อาจมีอาการแพ้ท้องอย่างมาก เหนื่อยมาก พักผ่อนไม่เพียงพอเพราะไหนจะต้องดูแลลูกคนโต ดูแลสามี ทำงานนอกบ้าน

แม่มีอาการไวที่หัวนมมากขึ้นจากฮอร์โมนทำให้รู้สึกเจ็บเวลาลูกดูด ขณะที่แม่บางคนอาจรู้สึกว่าการตั้งครรภ์พร้อม กับ การให้ลูกดูดนมเป็นเรื่องธรรมดาๆรับมือได้สบายๆ เพราะ อาจเคยพยายามลองให้ลูกหยุดดูดแล้ว แต่ไม่สำเร็จ ก็เลยตามเลยจนคลอดลูกคนเล็ก คนโตก็ยังตามมาดูดในโรงพยาบาล ดูดกันข้างเตียงคนไข้นั่นเลย ลูกคนเล็กสบายไปเลย เพราะ มีน้ำนมตั้งแต่มาดูดครั้งแรก

ให้ ลูกบุญธรรมดื่มนม ได้ ไม่ทำให้แท้ง

ให้ ลูกบุญธรรมดื่มนม ของคุณเองได้หรือไม่

การที่ลูกคนโตดูดนมแม่ ไม่ได้แย่งสารอาหารจากลูกที่อยู่ในท้อง หากแม่กินอาหารอย่างเหมาะสม คุณแม่บางคนที่ลูกคนโตดูดนมแม่จนคลอดน้อง และ หลังคลอดก็ได้ดูดกันทั้งพี่ และ น้องอย่างสามัคคีปรองดอง ถ้อยทีถ้อยอาศัย เพราะ คุณแม่ได้เตรียมบอกพี่ไว้แล้วว่า ถ้าน้องคลอดแล้ว เขายังไม่มีฟัน ยังกินข้าวไม่ได้ หนูต้องแบ่งให้น้องกิน

มีอยู่ครอบครัวหนึ่ง ที่ลูกคนที่หนึ่งและคนที่สองยังดูดนมแม่จากเต้าอยู่ทั้งคู่ (แต่กินข้าวและนมถั่วเหลืองกล่องร่วมด้วย) จนคุณแม่คลอดลูกคนที่สาม หลังคลอดก็ได้ดูดกันทั้งสามคน โดยให้น้องทารกกินก่อน พี่ๆกินทีหลัง พบว่าลูกคนที่สาม มีน้ำหนักแรกเกิดตัวโตกว่าน้ำหนักของพี่ๆตอนแรกเกิดเสียอีก และ ไม่ได้แย่งสารอาหารจากแม่จนส่งผลกับสุขภาพของแม่ในระยะยาวอย่างที่หลายคนกังวล ถ้าหากคุณแม่กินอาหารครบ 5 หมู่ รวมถึงแคลเซียมในปริมาณที่เพียงพอ และ หมั่นรักษาสุขภาพ

จะให้ ลูกบุญธรรมดื่มนม ต่อไม่ได้ ถ้า

อีกวิธีหนึ่งที่ใช้บอกได้ว่า สมควรให้ลูกคนโตหยุดดูดนมแม่หรือไม่ คือ ถ้าคุณหมอสูตินรีเวช ไม่ห้ามการมีเพศสัมพันธ์ระหว่างการตั้งครรภ์ แปลว่า สามารถให้ลูกดูดนมต่อไปได้ เพราะ การมีเพศสัมพันธ์ระหว่างตั้งครรภ์ กระตุ้นการบีบตัวของมดลูกแรงพอๆกับการดูดนมแม่

หากคุณแม่มีปัญหาเลือดออกกะปริบกะปรอย คุณหมอสูติจะสั่งงดการมีเพศสัมพันธ์ นั่นแปลว่าควรต้องหยุดให้นมด้วย

Source : 1

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

อยากรับบุตรบุญธรรม ทำยังไงดี?

ลูกเข้าโรงเรียน ใช้เอกสารอะไรบ้าง ไม่มีเอกสารพ่อ หรือแม่ ควรทำอย่างไรดี

บทความจากพันธมิตร
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom
ทำความรู้จัก NAN GOLD HA3 เจ้าของรางวัล Parents’ Choice Awards Best Hypoallergenic Formula Milk จากเวที theAsianparent Awards 2022
ทำความรู้จัก NAN GOLD HA3 เจ้าของรางวัล Parents’ Choice Awards Best Hypoallergenic Formula Milk จากเวที theAsianparent Awards 2022

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ให้ ลูกบุญธรรมดื่มนม ของคุณเองได้หรือไม่
แชร์ :
  • ลูกน้อยได้รับนมแม่เพียงพอหรือไม่?

    ลูกน้อยได้รับนมแม่เพียงพอหรือไม่?

  • 5 สุดยอดสารอาหารบำรุงครรภ์+ยามให้นมบุตร

    5 สุดยอดสารอาหารบำรุงครรภ์+ยามให้นมบุตร

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • ลูกน้อยได้รับนมแม่เพียงพอหรือไม่?

    ลูกน้อยได้รับนมแม่เพียงพอหรือไม่?

  • 5 สุดยอดสารอาหารบำรุงครรภ์+ยามให้นมบุตร

    5 สุดยอดสารอาหารบำรุงครรภ์+ยามให้นมบุตร

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ