X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ไขข้อข้องใจ 8 สาเหตุที่ทำไมประจำเดือนหลังคลอดไม่มาซักที!!

บทความ 3 นาที
ไขข้อข้องใจ 8 สาเหตุที่ทำไมประจำเดือนหลังคลอดไม่มาซักที!!ไขข้อข้องใจ 8 สาเหตุที่ทำไมประจำเดือนหลังคลอดไม่มาซักที!!

แม่หลังคลอดอย่าเพิ่งกังวลไปค่ะ ที่สงสัยว่าหลังคลอดแล้วทำไมประจำเดือนยังไม่มา จะมาเมื่อไหร่ เรื่องนี้จัดเป็นกลไกธรรมชาติของร่างกายนะคะ เพราะประจำเดือนหลังคลอดมาเร็วมาช้า ขึ้นอยู่กับร่างกายคุณแม่แต่ละคน

แม่มือใหม่อาจยังไม่รู้ และสงสัยทำไม ประจำเดือนหลังคลอดไม่มา มาช้า จนวิตกกังวล เรามาคลายข้อสงสัยเรื่องนี้กันค่ะ

ไขข้อข้องใจ 8 สาเหตุที่ทำไม ประจำเดือนหลังคลอดไม่มา ซักที!!

ประจำเดือนหลังคลอดไม่มา

#1 การให้ลูกดูดนมแม่

แม่ลูกอ่อนที่ให้ลูกดูดนมแม่อย่างเดียวโดยไม่มีน้ำหรืออาหารเสริม อย่างสม่ำเสมอจะส่งผลให้ฮอร์โมนโปรแล็กตินหลั่งออกมาจากต่อมใต้สมอง จะช่วยยับยั้งการตกไข่ทำให้แม่ไม่มีประจำเดือนเลยตั้งแต่หลังคลอด ซึ่งอาจไม่มีประจำเดือนไปจนถึง 6-7 เดือน และก็มีความเป็นไปได้ว่าสำหรับคุณแม่ที่ให้นมลูกหลัง 6 เดือนต่อไป โดยส่วนใหญ่แล้วจะเริ่มมีประจำเดือนหลังลูกอายุครบขวบ

Read : การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ช่วยคุมกำเนิดได้จริงหรือ?

#2 การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน

การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนที่เกิดขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์ อาจมีผลต่อการมาของประเดือนหลังคลอดได้

#3 การใช้ยาบางชนิด

ยาบางชนิดที่มีผลกระทบต่อฮอร์โมนก็อาจทำให้ประจำเดือนหลังคลอดยังไม่มาได้

#4 เพราะการคุมกำเนิด

การฉีดยาคุมกำเนิดหรือฝังยาคุมกำเนิด จะมีผลต่อการทำให้ประจำเดือนหลังคลอดไม่มาหรือมาช้ากว่าปกติได้

แม่ลูกอ่อนลดน้ำหนัก

#5 น้ำหนักตัว

น้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์หรือคุณแม่ที่มีน้ำหนักน้อย หรือแม่บางคนมีร่างกายที่ไม่แข็งแรงสมบูรณ์ มีผลต่อระบบการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายไม่มีประสิทธิภาพเต็มที่ จึงทำให้ประจำเดือนหลังคลอดมาช้าได้

สาเหตุที่ทำไมประจำหลังคลอดไม่มา เรื่องที่คุณแม่ควรรู้ อ่านต่อหน้าถัดไป >>

ประจำเดือนหลังคลอดไม่มา

#6 อาการซึมเศร้าหลังคลอด

เกิดขึ้นได้หลังคลอดเนื่องจากมีความเครียดที่สะสมมา หรือมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกมากเกินไป อาจส่งผลให้ไข่ไม่ตกได้ จึงทำให้ประจำเดือนหลังคลอดยังไม่มา แม่บางคนมีอาการซึมเศร้าหลังคลอด เพียงไม่กี่สัปดาห์ ในขณะที่แม่บางคนอาจนานเป็นปีเลยก็มี แต่อาการซึมเศร้านี้ไม่ได้เกิดขึ้นกับแม่หลังคลอดทุกคน จะพบแค่เพียง 10-20% เท่านั้น

#7 โรคบางชนิด

โรคบางอย่างอาจมีผลต่อการมีประจำเดือนได้ เช่น โรคเกี่ยวกับระบบต่อมไร้ท่อต่าง ๆ โรคเรื้อรังบางชนิด เช่น โรคเบาหวาน โรคไต ฯลฯ ซึ่งหากมีอาการค่อนข้างรุนแรงและเป็นอย่างต่อเนื่อง ก็อาจทำให้ประจำเดือนไม่มาหรือมาช้ากว่าปกติได้

ประจำเดือนหลังคลอดไม่มา

#8 เลือดที่ไม่ใช่ประจำเดือน

หลังคลอดคุณแม่อาจมีเลือดออกผิดปกติ ซึ่งควรสังเกตลักษณะของเลือดที่ออกว่าใช่หรือไม่ใช่ประจำเดือน

  • เลือดที่ออกในปริมาณมาก ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ทั้งคุณแม่ที่คลอดเองและผ่าคลอด มักจะเกิดขึ้นเร็ว เช่น หลังคลอดภายใน 1-2 สัปดาห์ ซึ่งไม่ใช่ประจำเดือน เพราะประจำเดือนหลังคลอดจะมาได้เร็วสุดภายใน 1-2 เดือน เลือดออกมากผิดปกติ หรือเรียกรวมอยู่ในกลุ่มตกเลือดหลังคลอด อาจมีอาการอื่น ๆ ร่วม เช่น ไข้ขึ้น ปวดท้อง หากคุณแม่มีเลือดออกผิดปกติในช่วงนี้ควรรีบไปพบแพทย์โดยด่วน
  • มีเลือดออกกะปริดกะปรอยแต่นานผิดปกติ อาจเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น อาจมีเศษรกหรือเศษเนื้อเยื่อค้างอยู่ก็ทำให้มีเลือดออกมาได้ หรืออาจเป็นน้ำคาวปลา ที่ยังไม่หมด ทั้งนี้หากสังเกตว่ามีน้ำคาวปลาที่เป็นเลือดสีแดงอย่างต่อเนื่องนาน 2 สัปดาห์ อาจมีความผิดปกติเกิดขึ้น ควรรีบไปพบแพทย์โดยเร็วเช่นกัน

โดยปกติหากแม่หลังคลอดไม่มีอาการผิดปกติใด ๆ ประจำเดือนหลังคลอดจะกลับมาเองเมื่อถึงเวลา ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติ ไม่น่าเป็นห่วง และไม่เป็นอันตรายแต่อย่างใด แต่ถ้ามีเลือดออกจากสาเหตุข้างต้น ที่สงสัยว่าเลือดที่ออกมาอาจไม่ใชประจำเดือน คุณแม่ควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุและให้การรักษาที่เหมาะสมต่อไปนะคะ


ที่มา : www.medthai.com

บทความอื่นที่น่าสนใจ :

ไม่อยากเสี่ยง! อย่าทำสิ่งเหล่านี้ขณะมีประจำเดือน

ประจำเดือนสีดำคืออะไร ผิดปกติไหม ปัญหาของสาวๆ ที่ต้องรู้

บทความจากพันธมิตร
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้
คุณแม่ให้นมเตรียมตัวกลับไปทำงาน ต้องปั๊มนม สต็อกนมอย่างไร ให้ลูกมีนมกินอย่างเพียงพอ
คุณแม่ให้นมเตรียมตัวกลับไปทำงาน ต้องปั๊มนม สต็อกนมอย่างไร ให้ลูกมีนมกินอย่างเพียงพอ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ไขข้อข้องใจ 8 สาเหตุที่ทำไมประจำเดือนหลังคลอดไม่มาซักที!!
แชร์ :
  • ประจำเดือนหลังคลอด เริ่มมาตอนไหน ให้นมลูกตอนมีประจำเดือนได้ไหม

    ประจำเดือนหลังคลอด เริ่มมาตอนไหน ให้นมลูกตอนมีประจำเดือนได้ไหม

  • แม่มือใหม่ไม่ต้องกลุ้ม! ประจำเดือนหลังคลอดมาช้าเป็นเรื่องปกติ!

    แม่มือใหม่ไม่ต้องกลุ้ม! ประจำเดือนหลังคลอดมาช้าเป็นเรื่องปกติ!

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

app info
get app banner
  • ประจำเดือนหลังคลอด เริ่มมาตอนไหน ให้นมลูกตอนมีประจำเดือนได้ไหม

    ประจำเดือนหลังคลอด เริ่มมาตอนไหน ให้นมลูกตอนมีประจำเดือนได้ไหม

  • แม่มือใหม่ไม่ต้องกลุ้ม! ประจำเดือนหลังคลอดมาช้าเป็นเรื่องปกติ!

    แม่มือใหม่ไม่ต้องกลุ้ม! ประจำเดือนหลังคลอดมาช้าเป็นเรื่องปกติ!

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ