X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ห้ามเลย! 7 เรื่อง อันตรายต่อทารกในครรภ์ แม่ทำแบบนี้ไม่ดีแน่

บทความ 3 นาที
ห้ามเลย! 7 เรื่อง อันตรายต่อทารกในครรภ์ แม่ทำแบบนี้ไม่ดีแน่

แน่นอนว่าในขณะตั้งครรภ์นั้นคุณแม่ต่างก็ดูแลเอาใจใส่ครรภ์น้อย ๆ ตลอดระยะเวลาจนกระทั่งคลอด แต่ก็มีบางสิ่งบางอย่างหรือปัจจัยรอบตัวที่อาจส่งผลร้ายต่อคุณแม่ท้องและเป็น อันตรายต่อทารกในครรภ์ ได้โดยที่เราไม่รู้

ปัจจัยรอบตัวไม่ว่าผลจากพฤติกรรมการกิน อารมณ์ สิ่งแวดล้อมในขณะตั้งครรภ์บางอย่างนั้นส่งผลทั้งต่อสุขภาพคุณแม่และเป็น อันตรายต่อทารกในครรภ์ ได้นะ

7 สิ่งที่อาจเป็น อันตรายต่อทารกในครรภ์


อันตรายต่อทารกในครรภ์

#1 ความเครียด

ระดับฮอร์โมนคุณแม่ที่เพิ่มขึ้นในตอนตั้งครรภ์ ส่งผลต่ออารมณ์คุณแม่ที่ทำให้ขึ้น ๆ ลง ๆ บางครั้งก็จิตตกเกิดความเครียดขึ้นได้ง่าย ๆ แต่อะไรที่หลีกเลี่ยงได้ เช่น ไม่ทำให้ตัวเองต้องวิตกกังวล คุณแม่ก็ควรปล่อย ๆ มันไปบ้างนะคะ หากแม่ท้องรับมือและปรับตัวกับภาวะเหล่านี้ได้ดี มีความเครียดบ้าง แต่เล็กน้อย ก็จะไม่มีผลเสียต่อการตั้งครรภ์ แต่ถ้ามีความเครียดสูงมาก ก็อาจเกิดผลเสียทั้งต่อตัวแม่และทารกในครรภ์ได้ ส่งผลให้ลูกมีน้ำหนักตัวน้อยกว่าปกติ มีภาวะเสี่ยงที่ทำให้เกิดการแท้ง ทารกในครรภ์เติบโตช้า หรือมีโอกาสเชื้อในครรภ์สูงขึ้น แถมผลที่อาจเกิดต่อทารกในระยะยาวจะทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังส่งผลถึงปัญหาทางจิตใจ และการปรับตัวทางสังคมของลูกตามมาได้เช่นกัน

อ่านเพิ่ม : เครียดตอนท้อง มีผลกับลูกไหม

#2 รับประทานเนื้อสัตว์แปรรูปหรือพวกผลไม้แช่แข็ง

อาหารประเภทนี้ไม่ได้ทำให้เกิดประโยชน์หรือทำให้ลูกน้อยในครรภ์ได้รับสารอาหารดี ๆ แต่อย่างใด แถมยังส่งผลให้คุณแม่ที่มีภูมิต้านทานน้อยป่วยได้ง่ายอีกด้วย

#3 ร่างกายได้รับวิตามินดีน้อยจนเกินไป

วิตามินดีถือว่าเป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อการสร้างกระดูกร่วมกับแคลเซียม และยังทำให้ระบบต่าง ๆ ในร่างกายทำงานได้สมบูรณ์ขึ้น ถือว่าจำเป็นสำหรับคุณแม่ท้อง ดังนั้นนอกจากวิตามินอื่น ๆ ที่คุณแม่ทานบำรุงแล้ว อย่าลืมออกไปเดินเล่นตากแดดอ่อน ๆ ในช่วงเช้าประมาณ 10 – 20 นาที รวมถึงรับประทานอาหารที่ให้วิตามินดีอย่าง นม เนื้อปลา ไข่และเห็ด เป็นต้น

#4 ทำให้ตัวเองจิตตกเกิดโรคซึมเศร้า

โรคซึมเศร้าเกิดขึ้นได้ทั้งในขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด หากแม่ท้องมีภาวะซึมเศร้าก็จะส่งผลให้ทารกในครรภ์มีน้ำหนักตัวน้อย ไอคิวต่ำ เสี่ยงต่อการขาดสารอาหารและคลอดก่อนกำหนด รวมถึงมีปัญหาในด้านการพัฒนาทางอารมณ์อีกด้วย

อันตรายต่อทารกในครรภ์

#5 ควันบุหรี่

รู้มั้ยค่ะ คนท้องที่สูบบุหรี่หรือดมควันบุหรี่จากคนใกล้ตัวอันตรายก็จะส่งผลต่อสุขภาพคุณแม่ มีโอกาสทำให้เกิดการแท้งบุตรได้ และส่งผลกระทบต่อทั้งการเจริญเติบโต ระดับสติปัญญาต่ำ และพัฒนาการของทารกในครรภ์ไปเต็ม ๆ ทารกในครรภ์มีโอกาสที่จะเกิดความพิการแต่กำเนิดเป็นเด็กสมาธิสั้น มีความเสี่ยงที่ลูกจะเป็นออทิสติก พัฒนาการถดถอย ควันบุหรี่นั้นถือเป็นวายร้ายตัวฉกาจของทารกในครรภ์เลยก็ว่าได้ เพื่อเป็นการตอกย้ำชัด ๆ คุณแม่ควรงดสูบบุหรี่ บอกคนใกล้ตัวอย่าสูบบุหนี่ หรือหลีกเลี่ยงสถานที่ ๆ มีคนสูบบุหรี่ รวมถึงเขม่าควันในขณะตั้งครรภ์นะคะ

#6 ดื่มกาแฟตอนท้อง

แม้จะยังไม่มีรายงานในทางการแพทย์ว่าการดื่มกาแฟนั้นมีอันตรายกับทารกในครรภ์ แต่ก็ควรงดไว้ก่อนดีกว่า เพราะการบริโภคกาแฟที่มีส่วนผสมของคาเฟอีนมากเกินไป ก็จะส่งผลกระทบต่อทารกได้ เช่น ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า เสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกำหนด หรือคลอดออกมาแล้วทารกมีน้ำหนักตัวน้อย เป็นต้น หากไม่สามารถเลี่ยงได้จริง ๆ ทางการแพทย์ก็แนะนำว่า คุณแม่ท้องนั้น ไม่ควรดื่มเกิน 200 มิลลิกรัมต่อวัน หรืออย่างน้อยประมาณ 1-2 แก้ว

อ่านเพิ่ม : คนท้องกินกาแฟได้ไหม

#7 โดปมากเกินไป

คุณแม่ที่เป็นห่วงลูกน้อยในครรภ์กลัวลูกได้รับสารอาหารน้อย จึงเน้นไปที่การกินมากเกินไป แบบนี้ไม่เกิดผลดีแน่ เพราะอาจทำให้ทารกในครรภ์มีน้ำหนักตัวมาก ทำให้คลอดยาก หนำซ้ำยังอาจส่งผลให้ทารกเป็นเบาหวานได้อีกด้วย อีกทั้งยังเกิดผลเสียต่อสุขภาพคุณแม่ที่ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนในขณะตั้งครรภ์ได้ เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น


ที่มา: Momjunction

บทความอื่นที่น่าสนใจ :

บทความจากพันธมิตร
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้
คุณแม่ให้นมเตรียมตัวกลับไปทำงาน ต้องปั๊มนม สต็อกนมอย่างไร ให้ลูกมีนมกินอย่างเพียงพอ
คุณแม่ให้นมเตรียมตัวกลับไปทำงาน ต้องปั๊มนม สต็อกนมอย่างไร ให้ลูกมีนมกินอย่างเพียงพอ

5 สัญญาณอันตราย เกิดอะไรหลังผ่าคลอดที่ควรพบแพทย์ให้เร็วที่สุด

ชำแหละ 5 เรื่องไม่ลับ ในระหว่างตั้งครรภ์ ถ้าอยากให้ลูกในท้องออกมาแข็งแรง

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

Muninth

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ห้ามเลย! 7 เรื่อง อันตรายต่อทารกในครรภ์ แม่ทำแบบนี้ไม่ดีแน่
แชร์ :
  • นักวิทยาศาสตร์ระบุการดื่มแต่น้อย 'ไม่เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์'

    นักวิทยาศาสตร์ระบุการดื่มแต่น้อย 'ไม่เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์'

  • เสี่ยงไหม? หากคนท้องเลี้ยงหมา

    เสี่ยงไหม? หากคนท้องเลี้ยงหมา

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

app info
get app banner
  • นักวิทยาศาสตร์ระบุการดื่มแต่น้อย 'ไม่เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์'

    นักวิทยาศาสตร์ระบุการดื่มแต่น้อย 'ไม่เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์'

  • เสี่ยงไหม? หากคนท้องเลี้ยงหมา

    เสี่ยงไหม? หากคนท้องเลี้ยงหมา

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ