X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

6 คำพูดไม่ควรพูดทำร้ายลูกวัยเตาะแตะ

บทความ 3 นาที
6 คำพูดไม่ควรพูดทำร้ายลูกวัยเตาะแตะ

ลูก ๆ ในช่วงวัยเตาะแตะ กำลังสนใจที่จะเรียนรู้ มักจะเป็นช่างสังเกตและจดจำรายละเอียดโดยเฉพาะคำพูดของผู้ใหญ่ ดังนั้นคุณพ่อคุณแม่ต้องระมัดระวังคำพูดเป็นอย่างยิ่งนะคะ เพราะบางครั้งสิ่งที่พูดออกไป อาจเป็นคำพูดที่ทำร้ายลูกและไปปิดกั้นพัฒนาการของลูกได้

6 คำพูดต้องห้ามทำร้ายวัยเตาะแตะ

#1 ไม่เป็นไรลูก

เป็นที่รู้กันว่า เด็กวัยเตาะแตะนั้นมักจะซุกซนเดินชนโน้นนี่ และมักจะมีแผลหัวโน ฟกช้ำดำเขียวอยู่บ่อย ๆ หรือบางครั้งออกไปวิ่งเล่นเป็นต้องมีหกล้มเกิดรอยถลอกที่หัวเข่า ถึงแม้ว่ามันอาจจะมองดูเป็นแผลเล็กน้อยและไม่ใหญ่โตอะไร แต่สำหรับลูกนั้นเมื่อเกิดแผลขึ้นเขาจะรู้สึกมากมายหลายอย่างมากทั้งเจ็บ ทั้งกลัว ดังนั้นการพูดว่า “ไม่เป็นไร” ไม่ได้ช่วยทำให้ลูกรู้สึกว่าความเจ็บจะหายไปหรือแผลเขาจะหาย แค่เพียงคุณรับรู้ว่าลูกเจ็บแล้วพาไปทำแผลติดพลาสเตอร์ให้ จากนั้นก็บอกว่าเดี๋ยวมันก็หาย ลูกก็จะหยุดร้องและรู้สึกดีขึ้นแล้ว

#2 หยุดร้องไห้นะ

การออกคำสั่งด้วยคำพูดว่า “หยุดร้องไห้” ไม่ได้ช่วยให้ลูกรู้สึกหายเจ็บ หายเศร้า หรือเสียใจน้อยลงไปเลย ผู้เชี่ยวชาญได้กล่าวว่ามันเป็นเรื่องที่ดีที่จะมีการพูดคุยกันผ่านการร้องไห้และหาว่าอะไรคือสาเหตุ เช่น การพูดว่า “แม่รู้ว่าหนูรู้สึกเสียใจที่จะหมดเวลาเล่นอีกแล้ว” เพื่อลูกจะได้รู้ว่าการร้องไห้นั้นถูกตอบรับ เพียงแต่ว่าอาจจะไม่ได้รับการสนองตอบในสิ่งที่เขาต้องการเท่านั้น ดังนั้นเมื่อลูกร้องไห้พยายามที่จะหาสาเหตุมากกว่าที่จะใช้คำพูดว่า หยุดร้องไห้นะ!

#3 ทำไมถึงทำแบบนี้

เด็กเล็ก ๆ กำลังอยู่ในวัยที่สนใจเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ อยากทดลองทำโดยไม่รู้ว่าอันไหนผิดหรือถูก การใช้คำพูดว่า “ทำไมถึงทำแบบนี้!” เป็นการแสดงออกให้รู้ถึงว่าคุณกำลังหงุดหงิดกับสิ่งที่เจ้าตัวเล็กของคุณกำลังก่อไว้ตรงหน้า เช่น ลูกล็อคประตูตอนคุณอยู่นอกบ้าน เมื่อคุณถามไปแน่นอนว่าคำตอบที่ได้ก็จะไม่ใช่ผลลัพธ์ที่คุณต้องการ ดังนั้นลืมคำพูดคำนี้ไปเลย แล้วลองใช้วิธีสอนลูกให้เห็นถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับตัวลูกแทน

ความกลัว แปลกๆ

#4 ลูกไม่จำเป็นต้องกลัว

ถ้าเจ้าตัวเล็กเดินเข้ามาหาและบอกว่าตอนนี้เขารู้สึกกลัว ให้ลองคุยกับลูกว่าเกิดอะไรขึ้น เป็นเพราะอะไร อย่าได้ไปบอกปัดและไม่สนใจในความกลัวของลูก ควรดูแลความรู้สึกของลูกและให้ความมั่นใจว่าพ่อแม่จะอยู่ข้าง ๆ และคอยปกป้องลูกเสมอ

#5 มันจะเกิดขึ้นเมื่อลูกทำแบบนี้

เหมือนเป็นคำขู่และสร้างความรู้สึกให้เด็กกลัวในสิ่งที่เขาอยากทำแต่พ่อแม่ไม่ต้องการให้ลูกทำแบบนั้น จึงสร้างคำพูดมาหลอกให้ลูกรู้สึกไม่กล้าที่จะทำ กลายเป็นการไปปิดกั้นพัฒนาการต่อการเรียนรู้ของลูกได้ เด็ก ๆ ควรที่จะได้รู้จักกับการแก้ปัญหาโดยมีพ่อแม่ที่คอยช่วยเหลือและสนับสนุนอยู่ใกล้ ๆ มากกว่าที่จะกังวลว่าลูกจะเจ็บหรือก่อปัญหาขึ้น โดยไม่ให้ลูกได้ลองทำอะไรเลย

#6 เดี๋ยวพ่อกลับมาจะโดนลงโทษ!

ถึงแม้ว่าหลัก ๆ แล้วดูเหมือนคนเป็นพ่อจะได้รับหน้าที่จัดการลงโทษลูก แต่การปลูกฝังให้ลูกรู้สึกกลัวต่อบุคคลผู้ที่มีอำนาจในการดูแลลูกๆ นั้นไม่ใช่ทางเลือกที่ดี เพราะจริง ๆ แล้วการเริ่มต้นสร้างระเบียบวินัยหรือการให้ลูกรู้จักเคารพต่อพ่อแม่ทั้งคู่เท่า ๆ กัน ดูเหมือนจะเป็นทางออกที่ดีกว่าต่อการเลือกให้ใครคนใดคนหนึ่งเป็นคนคอยลงโทษลูก

Source : www.lifeasmama.com

theAsianparent Community

บทความจากพันธมิตร
Unique Ideas To Make Your Kitchen Look Elegant, Stylish and Appealing
Unique Ideas To Make Your Kitchen Look Elegant, Stylish and Appealing
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
ชี้เป้า ประกันสุขภาพลูก ลดภาระทางการเงินเมื่อลูกเจ็บป่วย ช่วยให้ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด
ชี้เป้า ประกันสุขภาพลูก ลดภาระทางการเงินเมื่อลูกเจ็บป่วย ช่วยให้ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • 6 คำพูดไม่ควรพูดทำร้ายลูกวัยเตาะแตะ
แชร์ :
  • 10 คําพูดที่ไม่ควรพูดกับลูก คำพูดแบบนี้แหละคือที่สุดของการทำร้ายใจลูก

    10 คําพูดที่ไม่ควรพูดกับลูก คำพูดแบบนี้แหละคือที่สุดของการทำร้ายใจลูก

  • เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

    เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

  • เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

    เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

  • 10 คําพูดที่ไม่ควรพูดกับลูก คำพูดแบบนี้แหละคือที่สุดของการทำร้ายใจลูก

    10 คําพูดที่ไม่ควรพูดกับลูก คำพูดแบบนี้แหละคือที่สุดของการทำร้ายใจลูก

  • เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

    เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

  • เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

    เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ