X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เด็กกินยาก 5 วิธีแก้ปัญหาลูกกินยากที่คุณแม่ฉลาดเตรียมให้

บทความ 3 นาที
เด็กกินยาก 5 วิธีแก้ปัญหาลูกกินยากที่คุณแม่ฉลาดเตรียมให้

เรื่องกังวลสำหรับคุณแม่ลูกเล็กอีกหนึ่งเรื่องคือ การเจอกับปัญหาลูกกินยาก ที่ทำให้คุณแม่ต้องพยายามหาวิธีหรือปรุงอาหารให้ถูกใจคุณลูก เพื่อให้ลูกได้รับสารอาหารที่เพียงพอและเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ซึ่งมีผลสำรวจว่าคุณแม่ชาวกรุงจำนวน 100 คนที่มีลูกอยู่ในวัย 3-6 ปี ร้อยละ 87 ประสบปัญหากับพฤติกรรมลูกกินยากและมีโอกาสได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่ครบถ้วน

วิธีแก้ปัญหาลูกกินยาก,โฟร์โมสต์โอเมก้า

เด็กกินยาก

ลูกกินยากอาจได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน

พฤติกรรมลูกกินยากอาจเกิดขึ้นจาก 2 ปัจจัยหลัก

  • เกิดจากพฤติกรรมการกินของลูก เช่น เขี่ยอาหารทิ้ง กินอาหารน้อยเกินไป และเลือกกินเฉพาะอาหารที่ชอบ ทั้งนี้พบว่าอาหารที่ลูกไม่ชอบรับประทานมากที่สุดคือ ผักใบเขียว เช่น ผักโขม ผักบุ้ง บร็อคโคลี คะน้า รองลงมาคือผักมีสี เช่น มะเขือเทศ แครอท  ฟักทอง รวมทั้งหัวหอม อาหารทะเล ตับและเครื่องในสัตว์ ซึ่งอาหารเหล่านี้ล้วนเป็นแหล่งของสารอาหารจำพวกวิตามินและเกลือแร่  เช่น  วิตามินเอ  วิตามินซี  วิตามินบี 1 วิตามินอี เหล็ก และโฟเลต ที่จำเป็นต่อการเสริมสร้างความแข็งแรงให้เนื้อเยื่อในร่างกาย ต่อต้านอนุมูลอิสระ และช่วยเสริมระบบภูมิคุ้มกันต่อโรคภัยต่างๆ
  • เกิดจากความเร่งรีบในแต่ละวันทำให้มีเวลาไม่เพียงพอในการเตรียมอาหารเอง อีกทั้งไม่สามารถควบคุมการรับประทานอาหารที่โรงเรียนของลูกได้

ซึ่งปัจจัยเหล่านี้เป็นสาเหตุให้ลูกน้อยอาจได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย

5 วิธีแก้ปัญหาลูกกินยากที่คุณแม่ฉลาดเตรียมให้

เด็กกินยาก

 

วิธีแก้ปัญหาลูกกินยากที่คุณแม่ฉลาดเตรียมให้

  • ควรงดของว่าง นม หรือน้ำผลไม้ ก่อนมื้ออาหารประมาณ 3-4 ชั่วโมง
  • ให้ลูกนั่งร่วมโต๊ะกินอาหารพร้อมๆ กัน เริ่มต้นตักอาหารให้ลูกน้อยๆ แล้วค่อยๆ เติม โดยพ่อแม่กินอาหารเหมือนกับที่ลูกกินด้วย เช่น ผัดผัก แกงจืด เพื่อให้ลูกได้มองเป็นตัวอย่าง
  • ปล่อยให้ลูกลองช่วยเหลือตัวเองเวลากิน ให้ลูกหยิบจับอาหาร โดยคุณแม่อาจยอมปล่อยให้เลอะเทอะบ้าง เพื่อเป็นการให้ลูกสนุกกับอาหารตรงหน้า และรู้สึกไม่เป็นการบังคับให้ลูกกิน
  • ชวนลูกให้ลองทำอาหารเมนูง่ายๆ ร่วมกัน นอกจากทำให้ลูกเกิดความสนุกแล้วยังช่วยกระตุ้นให้เด็กเกิดความอยากกินขึ้นด้วย
  • หากคุณแม่กลัวว่าลูกกินยากหรือกินน้อยจะได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน ควรจัดอาหารเสริมโภชนาการระหว่างวันให้ลูก โดยคุณแม่กว่าครึ่งให้ลูกดื่มนมสำหรับเด็กเพราะเป็นแหล่งอาหารที่ให้สารอาหารที่ครบถ้วนทั้งโปรตีน แคลเซียม  วิตามินและแร่ธาตุ  ช่วยเสริมสร้างร่างกายให้เติบโตแข็งแรง  และเสริมให้ลูกได้รับสารอาหารอย่างพอเพียง พ่อแม่ควรให้ลูกดื่มนมเป็นประจำวันละ 1-2 แก้วพร้อมออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอควบคู่กัน

การให้ลูกดื่มนม จึงเป็นตัวเลือกที่เหมาะสำหรับลูกในวัยเจริญเติบโต  พ่อแม่ควรเลือกนมสำหรับเด็กให้ลูกดื่มเป็นประจำ เพราะมีโภชนาการที่เหมาะสมและมีสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของลูกเล็ก  ตัวอย่างเช่น  โอเมก้า 3, 6, และ 9 ซึ่งเป็นกรดไขมันชนิดดีมีส่วนช่วยบำรุงระบบประสาท จอประสาทตาและพัฒนาสมอง วิตามินบี 12  มีส่วนช่วยในการทำงานของระบบประสาทและสมอง ธาตุเหล็ก ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ไอโอดีน เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของฮอร์โมนไทรอยด์ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตและการพัฒนาของร่างกายและสมอง วิตามินดี ช่วยให้ร่างกายดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัสได้ดี

โฟร์โมสต์โอเมก้า

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • เด็กกินยาก 5 วิธีแก้ปัญหาลูกกินยากที่คุณแม่ฉลาดเตรียมให้
แชร์ :
  • หมอเตือน! โรคครูป ระบาดหน้าฝน สังเกตเสียงไอ-รับมือก่อนลูกแย่

    หมอเตือน! โรคครูป ระบาดหน้าฝน สังเกตเสียงไอ-รับมือก่อนลูกแย่

  • อุทาหรณ์! ก้างปลาติดคอ กลืนข้าว-น้ำส้มสายชู วันรุ่งขึ้นเสียชีวิต

    อุทาหรณ์! ก้างปลาติดคอ กลืนข้าว-น้ำส้มสายชู วันรุ่งขึ้นเสียชีวิต

  • วิจัยเผย! บรอกโคลี ต้านมะเร็ง ได้!! ด้วย "ซัลโฟราเฟน" สารอาหารที่พบในบรอกโคลี

    วิจัยเผย! บรอกโคลี ต้านมะเร็ง ได้!! ด้วย "ซัลโฟราเฟน" สารอาหารที่พบในบรอกโคลี

  • หมอเตือน! โรคครูป ระบาดหน้าฝน สังเกตเสียงไอ-รับมือก่อนลูกแย่

    หมอเตือน! โรคครูป ระบาดหน้าฝน สังเกตเสียงไอ-รับมือก่อนลูกแย่

  • อุทาหรณ์! ก้างปลาติดคอ กลืนข้าว-น้ำส้มสายชู วันรุ่งขึ้นเสียชีวิต

    อุทาหรณ์! ก้างปลาติดคอ กลืนข้าว-น้ำส้มสายชู วันรุ่งขึ้นเสียชีวิต

  • วิจัยเผย! บรอกโคลี ต้านมะเร็ง ได้!! ด้วย "ซัลโฟราเฟน" สารอาหารที่พบในบรอกโคลี

    วิจัยเผย! บรอกโคลี ต้านมะเร็ง ได้!! ด้วย "ซัลโฟราเฟน" สารอาหารที่พบในบรอกโคลี

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว