X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

5 วิธีรับมือการเจ็บท้องคลอด

บทความ 5 นาที
5 วิธีรับมือการเจ็บท้องคลอด

หากคุณเตรียมตัวจะคลอดลูกด้วยวิธีธรรมชาติ เรามี 5 วิธีรับมือการเจ็บท้องคลอดโดยไม่ต้องพึ่งยามาฝากคุณ

วิธีรับมือการเจ็บท้องคลอด มีหลายวิธี และนี่คืออีก 5 วิธี ที่จะเป็นทางเลือกให้คุณแม่ที่เจ็บท้องใกล้คลอด ได้ผ่อนคลายความเจ็บปวดลง โดยไม่ต้องพึ่งยา

วิธีรับมือการเจ็บท้องคลอด

5 วิธีรับมือการเจ็บท้องคลอด

1. เดิน

ถ้าคุณยังพอจะเดินไหว เราขอแนะนำให้คุณดินในช่วงที่คุณจ็บท้องคลอด การเดินช่วยเบี่ยงเบนความสนใจจากอาการเจ็บเตือน และช่วยย่นเวลากระบวนการเจ็บท้องคลอด และการคลอคให้สั้นลง นอกจากนี้การเดินยังช่วยฆ่าเวลารอระหว่างช่วงเจ็บเตือนได้ด้วย

2. แช่นํ้า

ในห้องรอคลอด หรือห้องที่เราจองเพื่อพักพื้น จะมีฝักบัวให้อาบน้ำ ลองไปยืนอาบน้ำอุ่นเพื่อช่วยบรรเทาอาการปวดเตือนดูนะคะ นอกจากนี้ยังเป็นการผ่อนคลายระหว่างที่เจ็บท้องได้ตีอีกวิธีหนึ่งด้วย

วิธีรับมือการเจ็บท้องคลอด

5 วิธีรับมือการเจ็บท้องคลอด

3. นวด

ลองให้สามี หรือผู้ที่เชี่ยวชาญด้านการนวด มานวดหลังให้คุณดูบ้าง วิธีนี้สามารถช่วยลดอาการปวดหลังช่วงล่างได้เป็นอย่างดี น้ำหนักมือที่ใช้นวดก็ขึ้นอยู่กับคุณเลยค่ะว่าตอนนี้คุณรู้สึกว่า น้ำหนักมือเบา หรือหนักทีนวดลงบนหลังคุณทำให้คุณรู้สึก หากคุณติดน้ำมันนวด หรือครีมไปที่โรงพยาบาลด้วยก็อย่าลืมใช้นะคะ เพราะมันจะทำให้การนวดนั้นง่ายขึ้นมากทีเตียว

4. เคี้ยวน้ำแข็ง

ที่คุณอ่านถูกแล้วค่ะ ถ้าคุณจ็บท้องคลอตให้เคี้ยวน้ำแข็ง เพราะความเย็นจากการเคี้ยวน้ำแข็งช่วยบรรเทาอาการปวดจากการที่มดลูกบีบรัดตัวไต้ นอกจากนี้การเคี้ยวน้ำแข็ง ยังช่วยเบี่ยงเบนความสนใจจากความปวดได้อีกด้วย

5. ลูกบอลออกกำลังกาย

ถ้าที่โรงพยบาลมีลูกบอลสำหรับทำกายภาพบำบัดให้คุณยืมใช้ ลองดูนะคะ คุณจะรู้สึกว่ามันช่วยบรรเทาอาการปวดได้แต่บางครั้งก็ไม่ช่วยสักเท่าไหร่ ผู้หญิงบางคนบอกว่าดีมาก บางคนบอกว่ายิ่งทำให้เจ็บมากขึ้น คุณคงต้องลองเอง เพื่อจะได้รู้วมันได้ผลกับคุณไหม

วิธีรับมือการเจ็บท้องคลอด

5 วิธีรับมือการเจ็บท้องคลอด

โค้งสุดท้ายก่อนคลอดจริง

บทความ : สัญญาณเตือนก่อนคลอด แม่จ๋าหนูไม่ไหวแล้วนะ

สัญญาณเตือนก่อนคลอด หรืออาการใกล้คลอดต่าง ๆ ในช่วงโค้งสุดท้ายใกล้คลอดมีดังนี้

1. มีมูกไหลออกมาทางช่องคลอด

ระหว่างตั้งครรภ์ บริเวณปากมดลูกจะมีเมือกลักษณะเหนียวข้น มีสีขาว เพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อโรคเข้าไปในมดลูกในระหว่างตั้งครรภ์ พอถึงช่วงใกล้คลอด ปากมดลูกจะเริ่มเปิดและบางลง เมือกนี้ก็จะหลุดออกมา และบางครั้งอาจมีเลือดผสมออกมาด้วย ซึ่งสัญญาณแบบนี้แสดงว่าคุณแม่ใกล้จะคลอดเต็มทีแล้ว

2. ท้องลด

ในช่วงใกล้คลอด ทารกในครรภ์จะเริ่มเคลื่อนศีรษะลงมาอยู่บริเวณอุ้งเชิงกราน และจะสังเกตได้ว่าท้องของคุณแม่มีขนาดเล็กลง คุณแม่จะรู้สึกโล่ง ไม่อึดอัด และหายใจสะดวกขึ้น เราเรียกอาการนี้ว่า อาการท้องลด

อาการท้องลด อาจเกิดขึ้นไม่กี่สัปดาห์ก่อนคลอด หรือไม่กี่ชั่วโมงก่อนคลอด หรือในคุณแม่บางคนจวบจนใกล้คลอดแล้วท้องยังไม่ลดเลยก็เป็นไปได้เหมือนกัน แต่ถ้าแม่ท้องคนไหนมีอาการท้องลดแล้วละก็ เตรียมตัวได้เลย เพราะสัญญาณเตือนก่อนคลอดแบบนี้ แสดงว่าเจ้าตัวน้อยใกล้ที่จะออกมาดูโลกแล้วครับ

3. เจ็บท้อง

อาการเจ็บท้องนั้น มีทั้งแบบเจ็บท้องหลอก และเจ็บท้องใกล้คลอดจริง เรามาดูกันว่าอาการแบบไหนคืออาการเจ็บท้องจริง อาการแบบไหนคืออาการเจ็บท้องหลอกกันแน่ เพื่อจะได้เตรียมตัวไปโรงพยาบาลได้อย่างทันท่วงที

อาการเจ็บท้องหลอก หรือเจ็บท้องเตือน

  • ปวดท้องมากบ้างน้อยบ้าง เดี๋ยวถี่เดี๋ยวห่าง ไม่สม่ำเสมอ แม่ท้องบางท่านก็ปวดติด ๆ กันหลายครั้งแล้วก็หายปวด
  • เมื่อได้นอนพัก หรือเปลี่ยนท่าทาง อาการก็จะดีขึ้น
  • ความเจ็บปวดจะคล้าย ๆ กับการปวดประจำเดือน
  • มักมีอาการเจ็บบริเวณท้องน้อย

อาการเจ็บท้องจริง

  • มีอาการปวดอย่างสม่ำเสมอ และปวดถี่ขึ้นเรื่อย ๆ
  • ท้องแข็งตึง
  • แม่ท้องจะรู้สึกเริ่มเจ็บบริเวณส่วนบนของมดลูกก่อนแล้วจึงเจ็บร้าวไปที่หลัง
  • หากเดินหรือเคลื่อนไหวจะมีอาการเจ็บมากขึ้น
  • อาจมีมูกเลือดออกมาทางช่องคลอดร่วมด้วย

4. น้ำเดิน

อาการถุงน้ำคร่ำแตก หรือ น้ำเดิน เป็นอีกหนึ่งสัญญาณเตือนก่อนคลอด แสดงว่ามดลูกเริ่มบีบตัวหดเล็กลงเพื่อบีบให้ศีรษะของเด็กเคลื่อนลงสู่อุ้งเชิงกราน จึงทำให้มีน้ำออกมาเป็นลักษณะใส ๆ คล้ายน้ำปัสสาวะ แม่ท้องที่มีอาการน้ำเดินมีโอกาสมากถึง 80 % ที่จะคลอดภายใน 12 ชั่วโมง หากแม่ท้องมีอาการเช่นนี้ ควรรีบไปพบแพทย์โดยด่วน

5. ปากมดลูกเปิด

บทความจากพันธมิตร
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย

บทความ : ปากมดลูกเปิดรู้สึกยังไง ต้องกว้างแค่ไหนถึงจะคลอดง่าย

ปกติแล้ว ปากมดลูกของคนท้องจะหนาเล็กน้อย และปิดค่อนข้างแน่นสนิท เพื่อช่วยปกป้องทารกในครรภ์จากอันตรายภายนอก แต่ร่างกายของคนท้อง จะมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่ช่วงโค้งสุดท้ายใกล้คลอด โดยปากมดลูกจะเริ่มอ่อนนุ่ม บางลง และสั้นลงเรื่อย ๆ โดยจะเริ่มเปิดตั้งแต่ 1 เซนติเมตร ซึ่งคุณแม่ควรเตรียมตัวไปโรงพยาบาล เปิดกว้าง 4 เซนติเมตร ช่วงนี้ปากมดลูกของคุณแม่ท้อง เริ่มบางลงมากแล้ว จึงทำให้ปากมดลูกอาจเปิดอย่างรวดเร็วจาก การหดตัวของมดลูกจะเพิ่มขึ้น ซึ่งจะทำให้เจ็บท้องปานกลางถึงมาก จนกระทั่งเปิดขยายกว้างขึ้นเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตรเรียกว่าระยะเบ่ง โดยนับตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 10 ซม. จนกระทั่งสิ้นสุดการคลอด โดยมากจะใช้เวลาไม่เกิน 2 ชั่วโมงในครรภ์แรก และไม่เกิน 1 ชั่วโมงในครรภ์หลัง เมื่อปากมดลูกเปิดหมดแล้ว คุณหมอและพยาบาลก็จะบอกให้คุณเบ่งคลอด และอีกไม่นานเจ้าตัวน้อยก็จะได้ออกมาลืมตาดูโลกแล้ว

_________________________________________________________________________________________

theAsianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพ และสังคมคุณแม่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ และเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น theAsianparent Thailand ที่ติดตามการตั้งครรภ์ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งาน เพื่อติดตามพัฒนาการทารกตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุด และผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ ยังมีไลฟ์สไตล์ และสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่และเด็ก โภชนาการแม่และเด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว 

การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และจิตวิทยาเด็ก theAsianparent Thailand เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้ และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

source : www.parents.com

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

อาการใกล้คลอด เป็นอย่างไร 10 สัญญาณบ่งบอกว่าลูกใกล้มาแล้ว

เทคนิค การซื้อเสื้อผ้าสำหรับทารกแรกเกิด สำหรับคุณแม่มือใหม่ เลือกเสื้อผ้าแบบไหน ให้เจ้าตัวเล็กใส่สบาย ไม่ระคายผิว

เทคนิคบำรุงน้ำนม และปริมาณนมของเด็กแรกเกิดที่กินในแต่ละวัน

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

Angoon

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • 5 วิธีรับมือการเจ็บท้องคลอด
แชร์ :
  • 13 สิ่งที่ควรทำเมื่อเริ่มเจ็บท้องคลอด

    13 สิ่งที่ควรทำเมื่อเริ่มเจ็บท้องคลอด

  • 8 เรื่องที่เจ็บปวดกว่าการเจ็บท้องคลอด

    8 เรื่องที่เจ็บปวดกว่าการเจ็บท้องคลอด

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • 13 สิ่งที่ควรทำเมื่อเริ่มเจ็บท้องคลอด

    13 สิ่งที่ควรทำเมื่อเริ่มเจ็บท้องคลอด

  • 8 เรื่องที่เจ็บปวดกว่าการเจ็บท้องคลอด

    8 เรื่องที่เจ็บปวดกว่าการเจ็บท้องคลอด

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ